ป้ายกำกับ :

ไชยันต์-ไชยพร

ในแผ่นดินพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว (ตอนที่ ๒)

แปดเดือนหลังเสด็จขึ้นครองราชย์ พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงให้ความสนใจอย่างยิ่งต่อประเด็นปัญหาเรื่องรูปแบบการปกครองของสยาม

45 ปี 6 ตุลาฯ : แนวโน้มการครองอำนาจยาวนานของผู้นำทางการเมืองในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ในช่วงระหว่างและหลังสงครามเย็น

แม้ว่าการเมืองพม่าจะตกอยู่ภายใต้รัฐบาลทหารที่มีนายพลเนวินเป็นผู้นำต่อเนื่องเป็นเวลาถึง 26 ปี แต่การครองอำนาจยาวนานของนายพลเนวินไม่ได้เริ่มต้นเมื่อเขาได้เป็นนายกรัฐมนตรีครั้งแรกในปลายปี พ.ศ. 2501 เพราะในการขึ้นสู่อำนาจครั้งนั้นเกิดขึ้นจากการที่นายอู นุ ลาออกและเชิญ

ในแผ่นดินพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว (ตอนที่ ๑)

แปดเดือนหลังเสด็จขึ้นครองราชย์ พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงให้ความสนใจอย่างยิ่งต่อประเด็นปัญหาเรื่องรูปแบบการปกครองของสยาม โดยวันที่ ๒๓ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๔๖๙

45 ปี 6 ตุลาฯ: แนวโน้มการครองอำนาจยาวนานของผู้นำทางการเมืองในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ในช่วงระหว่างและหลังสงครามเย็น

ในปลายปี พ.ศ. 2501 พม่าปกครองโดยรัฐบาลทหารรักษาการภายใต้นายพลเนวินที่ขึ้นสู่อำนาจผ่านการลงมติของสภาโดยการเสนอชื่อของ อู นุ ผู้ซึ่งลาออกจากตำแหน่งนายกรัฐมนตรีและเสนอชื่อนายพลเนวินต่อสภา

ประเพณีการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข (๓): ว่าด้วยผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ในรัฐธรรมนูญ จาก พ.ศ. ๒๔๗๕-ปัจจุบัน 'อำนาจการแต่งตั้งผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์'

หลังจากตอนที่ ๑ ได้ตีพิมพ์เผยแพร่ออกไป มีผู้อ่านคือ คุณ Manit Sriwanichpoom ให้ความเห็นมาว่า           “หากมองความเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นในรธน.60 จะเห็นว่าบทบาทตัวแทนประชาชนผ่านรัฐสภากับสถาบันกษัตริย์​ได้ถูกลดทอนลงไปจากรธน.ฉับก่อนๆ​ ในแง่นี้จำเป็นหรือไม่ที่เรื่องควรผ่านความเห็นชอบของสภา​ก่อน

ประเพณีการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข (๒): ว่าด้วยผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ในรัฐธรรมนูญ จาก พ.ศ. ๒๔๗๕-ปัจจุบัน 'อำนาจการแต่งตั้งผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์'

หลังจากตอนที่ ๑ ได้ตีพิมพ์เผยแพร่ออกไป มีผู้อ่านคือ คุณ Manit Sriwanichpoom ให้ความเห็นมาว่า “หากมองความเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นในรธน.60 จะเห็นว่าบทบาทตัวแทนประชาชนผ่านรัฐสภากับสถาบันกษัตริย์ได้ถูกลดทอนลงไปจากรธน.ฉับก่อนๆ ในแง่นี้จำเป็นหรือไม่ที่เรื่องควรผ่านความเห็นชอบของสภาก่อน ถ้าจำไม่ผิดมาตรานี้ได้ถูกเปลี่ยนแปลงเนื้อหาหลังจากรธน.60 ผ่านการลงประชามติของประชาชนแล้ว

'ไชยันต์' ถาม 'วิโรจน์' คิดอะไรถึงได้แนะนำคนกทม. อ่านหนังสือมีปัญหาทางวิชาการ

ศ.ดร.ไชยันต์ ไชยพร อาจารย์ประจำภาควิชาการปกครอง คณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย โพสต์ข้อความบนเฟซบุ๊กว่า ว่าที่ผู้สมัครผู้ว่า กทม คุณวิโรจน์ ลักขณาอดิศร กับ การเสนอแนะนำหนังสือ “ขุนศึก ศักดินา พญาอินทรี” ของ ณัฐพล ใจจริง

ประเพณีการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข (๑): ว่าด้วยผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ในรัฐธรรมนูญ จาก พ.ศ. ๒๔๗๕-ปัจจุบัน

ในรัฐธรรมนูญฉบับชั่วคราว พ.ศ. ๒๕๕๗ (ฉบับที่ ๔) วันที่ ๑๕ มกราคม พ.ศ. ๒๕๖๐ มีการแก้ไขเพิ่มเติมที่เกี่ยวข้องกับการแต่งตั้งผู้สำเร็จราชการดังนี้คือ ในมาตรา ๓ ให้เพิ่มความต่อไปนี้เป็นวรรคสามของมาตรา ๒ ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (ฉบับชั่วคราว) พุทธศักราช ๒๕๕๗ และข้อความที่ให้เพิ่มเติมคือ “

ว่าด้วยผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ตามประเพณีการปกครองของอังกฤษ (ตอนที่ ๙)

ที่ผ่านมา ผู้เขียนได้กล่าวถึง พ.ร.บ. ผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ของอังกฤษ และขยายความเกี่ยวกับเงื่อนไขที่องค์พระประมุข “ทรงบริหารพระราชภารกิจไม่ได้” โดยเงื่อนไขหลักได้แก่ ไม่ทรงประทับอยู่ในราชอาณาจักร, ทรงพระประชวร, ทรงพระเยาว์ เป็นต้น และผู้เขียนได้ย้ำและให้ตัวอย่างต่างๆในกรณีของอังกฤษที่ชี้ว่า แม้ว่าเจตนารมณ์ของ พ.ร.บ. จะมุ่งให้ครอบคลุมเงื่อนไขต่างๆ

ว่าด้วยผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ตามประเพณีการปกครองของอังกฤษ (ตอนที่ ๘)

ในกรณีของอังกฤษและรวมถึงประเทศอื่นๆที่มีสถาบันพระมหากษัตริย์ ไม่ว่าจะเป็นระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์หรือระบอบพระมหากษัตริย์ภายใต้รัฐธรรมนูญ เงื่อนไขสำคัญประการหนึ่งในการแต่งตั้งผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์คือ การแต่งตั้งผู้ที่อยู่ในอันดับแรกที่จะสืบราชสันตติวงศ์

ว่าด้วยผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ตามประเพณีการปกครองของอังกฤษ (ตอนที่ ๗)

ในอังกฤษ มีการออกพระราชบัญญัติว่าด้วยผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ครั้งแรกในปี ค.ศ. ๑๙๓๗ (the Regency Act 1937) ต่อมาแก้ไขเพิ่มเติมในปี ค.ศ. ๑๙๔๓ และ ค.ศ. ๑๙๕๓ ที่เป็นเช่นนั้น ก็เพราะว่า พ.ร.บ. ที่ออกมาครั้งแรกไม่สามารถตอบโจทย์หรือสถานการณ์จริงที่เกิดขึ้น

ว่าด้วยผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ตามประเพณีการปกครองของอังกฤษ (ตอนที่ ๖)

อังกฤษมีพระราชบัญญัติว่าด้วยผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์เป็นครั้งแรกในปี ค.ศ. ๑๙๓๗ (the Regency Act 1937) โดยมุ่งให้ พ.ร.บ. นี้ครอบคลุมกรณีต่างๆที่พระมหากษัตริย์จะทรงบริหารพระราชภารกิจไม่ได้ (royal incapacity) โดยกำหนดให้มีการตั้งสภาสำเร็จราชการแผ่นดินหรือผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ (แล้วแต่กรณี) ปฏิบัติภารกิจแทนพระมหากษัตริย์

ว่าด้วยผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ตามประเพณีการปกครองของอังกฤษ (ตอนที่ ๕)

ในการแก้ไขปัญหาที่อาจเกิดขึ้นจากการที่องค์พระมหากษัตริย์จะทรงบริหารพระราชภารกิจไม่ได้ (royal incapacity) อังกฤษได้ออกกฎหมายที่มีเจตนารมณ์ที่จะครอบคลุมกรณีต่างๆที่พระมหากษัตริย์จะทรงบริหารพระราชภารกิจไม่ได้ที่เคยเกิดขึ้นมาแล้วในอดีตและรวมทั้งในกรณีที่อาจเกิดขึ้นได้ในอนาคต กฎหมาย ฉบับนี้คือ พระราชบัญญัติว่าด้วยการแต่งตั้งผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ ค.ศ. ๑๙๓๗ (The Regency Act 1937) สาระสำคัญของ พ.ร.บ. ว่าด้วยการแต่งตั้งผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ ค.ศ. ๑๙๓๗ มีสามประการ เริ่มต้นจาก

ว่าด้วยผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ตามประเพณีการปกครองของอังกฤษ (ตอนที่ ๓)

ประเพณีการปกครองในการแต่งตั้งผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ในอังกฤษเพิ่งเริ่มมีความชัดเจนในศตวรรษที่ยี่สิบ เริ่มต้นจากปี ค.ศ. ๑๙๑๑ ก่อนที่สมเด็จพระเจ้าจอร์จที่ห้าจะทรงเสด็จเยือนอินเดีย พระองค์ได้ทรงแต่งตั้งสภาผู้สำเร็จราชการแผ่นดินด้วยเหตุผลที่ว่าพระองค์จะมิทรงประทับอยู่ในราชอาณาจักร และจากกรณีการแต่งตั้งสภาผู้สำเร็จราชการแผ่นดินในปี ค.ศ. ๑๙๑๑ นี้เองจึงเป็นที่มาของแบบแผนปฏิบัติในเวลาต่อมา นั่นคือ ในปี ค.ศ. ๑๙๒๕

ว่าด้วยผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ตามประเพณีการปกครองของอังกฤษ (ตอนที่ ๑)

สถาบันพระมหากษัตริย์ของอังกฤษมีพระราชภารกิจต่างๆตามกฎหมาย (legal duties) ที่ต้องปฏิบัติ รวมทั้งการปฏิบัติพระราชภารกิจในพระราชพิธีต่างๆ (ceremonial) และการเป็นตัวแทนของประเทศในตำแหน่งประมุขของรัฐ ซึ่งในกรณีของการเป็นตัวแทน

วิเคราะห์การตัดสินยุบพรรคอนาคตใหม่จากมุมมองทางรัฐศาสตร์ ? (ตอนสุดท้าย)

ถ้ากฎหมายไทยมีช่องโหว่ทำให้ต้องตีความว่าพรรคการเมืองสามารถกู้เงินหัวหน้าพรรคได้เป็นจำนวนไม่จำกัด ก็ต้องมีการแก้ไขอุดช่องโหว่เหมือนในกรณีพรรคแรงงานในสหาราชอาณาจักรกู้เงินจากปัจเจกบุคคลและเกิดกรณีฉาวโฉ่ว่า พรรคมีพันธะที่จะต้องเสนอชื่อบุคคลที่เป็นเจ้าหนี้ให้ได้รับการแต่งตั้งเป็นสมาชิกสภาขุนนาง ซึ่งต่อมา รัฐสภาได้ออกกฎหมายมาควบคุมปิดช่องโหว่เกี่ยวกับการเงินของพรรคการเมือง

วิเคราะห์การตัดสินยุบพรรคอนาคตใหม่จากมุมมองทางรัฐศาสตร์ ? (ตอนที่แปด)

การแก้ปัญหาความไม่สุจริตทางการเงินและการรวมศูนย์อำนาจภายในพรรคการเมืองก็คงไม่ต่างจากการแก้ปัญหาทุจริตในการเลือกตั้ง นั่นคือ จะต้องมีการแก้ไขปรับปรุงกฎหมายให้มีประสิทธิภาพและเท่าทันต่อพฤติกรรมการฉ้อฉลของนักการเมืองอยู่ตลอดเวลา อย่างเช่นในเรื่องการทุจริตซื้อเสียงเลือกตั้ง มีนักการเมืองไทยจำนวนไม่น้อยให้ความเห็นว่า การซื้อขายเสียงในการเลือกตั้งของไทยเรานั้นถือเป็นลักษณะโดดเด่นและเป็นวัฒนธรรมที่คงแก้ไม่ได้ 

‘ไชยันต์’ บอกจอดให้คนข้ามทางม้าลาย ในบริบทบ้านเราอาจเป็นแกะดำ ไม่อดทนจะเป็นแค่ไฟไหม้ฟาง

ศ.ดร.ไชยันต์ ไชยพร อาจารย์ประจำภาควิชาการปกครอง คณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย โพสต์เฟซบุ๊กระบุว่า จอดให้คนข้ามทางม้าลาย การเคารพกฎหมายในบริบทบ้านเรา ต้องอดทนมากๆเลยครับ

วิเคราะห์การตัดสินยุบพรรคอนาคตใหม่จากมุมมองทางรัฐศาสตร์ ? (ตอนที่เจ็ด)

ต่อกรณีพรรคอนาคตใหม่ ในฐานะนักรัฐศาสตร์ที่ไม่รู้เรื่องนิติศาสตร์ ผู้เขียนเห็นว่า การกู้ยืมเงินหัวหน้าพรรคเป็นจำนวนมากขนาดนั้น (191,200,000 บาท) จากบุคคลคนเดียวซึ่งเป็นหัวหน้าพรรคและเป็นแหล่งทุนสำคัญของพรรคเป็นสิ่งที่ไม่ถูกต้องและรับไม่ได้ตามหลักการที่ไม่ต้องการให้เกิดเงื่อนไขของการครอบงำในพรรคการเมือง

เพิ่มเพื่อน