ป้ายกำกับ :
ไชยันต์-ไชยพร
เว้นวรรครัฐประหาร (ตอนที่ ๑๗): การยุบสภาผู้แทนราษฎรวันที่ ๒๔ กุมภาพันธ์ ๒๕๔๙
การยุบสภาผู้แทนราษฎรวันที่ ๒๔ กุมภาพันธ์ ๒๕๔๙ นับเป็นการยุบสภาฯครั้งที่ ๑๒ และเป็นการยุบสภาฯที่มีลักษณะที่แตกต่างไปจากการยุบสภาฯ ๑๑ ครั้งก่อนหน้า และในความเห็นของผู้เขียน การยุบสภาฯครั้งที่ ๑๒
๑๔ ตุลาฯ ที่เกิดขึ้นก่อน ๑๔ ตุลาฯ (ตอนที่ ๒๑)
ในสามตอนที่ผ่านมาผู้เขียนได้กล่าวเทียบเคียงแนวคิดเรื่อง parasite (หรือที่หลวงประดิษฐ์มนูธรรมเรียกว่า “พวกหนักโลก”) ของชาร์ล ฟูริเยต์นักคิดสังคมนิยมยุคแรกเริ่มกับของมาร์กซและเอ็งเงิลส์
๑๔ ตุลาฯ ที่เกิดขึ้นก่อน ๑๔ ตุลาฯ (ตอนที่ ๒๐)
ในเดือนมีนาคม พ.ศ. 2476 ในเค้าโครงเศรษฐกิจ หลวงประดิษฐ์ฯได้กล่าวว่า “.. เราเกลียดชังลัทธิคอมมิวนิสต์ตามที่ท่านนักปราชญ์ในประเทศไทยท่านกล่าวนั้น และเราไม่ดำเนินวิธีริบทรัพย์มาแบ่งกันดังที่นักปราชญ์ท่านกล่าว”
ในแผ่นดินพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว (ตอนที่ ๑๙)
ในตอนที่แล้ว ผู้เขียนได้ตั้งข้อสังเกตต่อข้อความบางตอนในปาฐกถกาของสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาดำรงราชานุภาพ ทรงแสดงที่สามัคยาจารย์สมาคม เมื่อวันที่ 8 ตุลาคม พ.ศ. 2470 และได้ทรงกล่าวถึง
๑๔ ตุลาฯ ที่เกิดขึ้นก่อน ๑๔ ตุลาฯ (ตอนที่ ๑๙)
ในเค้าโครงเศรษฐกิจ หลวงประดิษฐ์มนูธรรมใช้คำว่า “พวกหนักโลก (social parasite)” อยู่หลายครั้ง ผู้คุ้นเคยกับแนวความคิดของสองนักคิดผู้ให้กำเนิดลัทธิคอมมิวนิสต์อย่างมาร์กซและเอ็งเงิลส์ (Marx and Engels)
เว้นวรรครัฐประหาร (ตอนที่ ๑๖): การเปลี่ยนแปลงเงื่อนไขการยุบสภาเมื่อใกล้ครบวาระของอังกฤษ
ในปี ค.ศ. 2011 อังกฤษได้มีการออกพระราชบัญญัติที่เรียกว่า the Fixed-Term Parliament ที่กำหนดให้การยุบสภาก่อนครบวาระจะกระทำได้ก็ต่อเมื่อได้รับเสียงเห็นชอบจากสภาผู้แทนราษฎรเป็นจำนวนสองในสา
๑๔ ตุลาฯ ที่เกิดขึ้นก่อน ๑๔ ตุลาฯ (ตอนที่ ๑๘)
ในตอนที่แล้ว ผู้เขียนได้ชี้ให้เห็นว่าคำว่า “พวกหนักโลก (social parasite)” ที่หลวงประดิษฐ์มนูธรรมใช้ในเค้าโครงเศรษฐกิจนั้น สามารถพบได้เป็นจำนวนมากในงานเขียนของคาร์ล มาร์กซ และ ฟรีดริช เอ็งเงิลส์ (Karl Marx และ Friedrich Engels) สองนักคิดชาวเยอรมันผู้ให้กำเนิดลัทธิคอมมิวนิสม์
ในแผ่นดินพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว (ตอนที่ ๑๘)
ในตอนที่แล้ว ผู้เขียนได้ตั้งข้อสังเกตต่อข้อความบางตอนในปาฐกถกาของสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาดำรงราชานุภาพ ทรงแสดงที่สามัคยาจารย์สมาคม เมื่อวันที่ 8 ตุลาคม พ.ศ. 2470
เว้นวรรครัฐประหาร (ตอนที่ ๑๕): การเปลี่ยนแปลงเงื่อนไขการยุบสภาเมื่อใกล้ครบวาระของอังกฤษ
ในปี ค.ศ. 2011 อังกฤษได้มีการออกพระราชบัญญัติที่เรียกว่า the Fixed-Term Parliament ที่กำหนดให้การยุบสภาก่อนครบวาระจะกระทำได้ก็ต่อเมื่อได้รับเสียงเห็นชอบจากสภาผู้แทนราษฎรเป็นจำนวนสองในสาม
๑๔ ตุลาฯ ที่เกิดขึ้นก่อน ๑๔ ตุลาฯ (ตอนที่ ๑๗)
ในเค้าโครงเศรษฐกิจ หลวงประดิษฐ์มนูธรรมได้ใช้คำว่า “พวกหนักโลก” และวงเล็บว่า “social parasite” และเขาได้อธิบายว่า “ในประเทศไทยนี้ มีบุคคลที่เกิดมาหนักโลก อาศัยบุคคลอื่นกินมีจำนวนไม่น้อย
ในแผ่นดินพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว (ตอนที่ ๑๗)
พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงพระราชทานสัมภาษณ์แก่นายแฮโรลด์ เอน. เดนนี ซึ่งต่อมานายเดนนีได้ส่งบทความการสัมภาษณ์ดังกล่าวไปตีพิมพ์ในหนังสือพิมพ์นิวยอร์คไทม์ภายใต้หัวข้อ
๑๔ ตุลาฯ ที่เกิดขึ้นก่อน ๑๔ ตุลาฯ (ตอนที่ ๑๖)
ตอนที่แล้ว ได้กล่าวถึงข้อความบางตอนในเค้าโครงเศรษฐกิจของหลวงประดิษฐ์มนูธรรมที่กล่าวพาดพิงถึงกลุ่มคนในสังคมไทยว่าเป็น “พวกหนักโลก” โดยหลวงประดิษฐ์ฯได้วงเล็บภาษาอังกฤษ
เว้นวรรครัฐประหาร (ตอนที่ ๑๔): การเปลี่ยนแปลงเงื่อนไขการยุบสภาเมื่อใกล้ครบวาระของอังกฤษ
ในปี ค.ศ. 2011 อังกฤษได้มีการออกพระราชบัญญัติที่เรียกว่า the Fixed-Term Parliament ที่กำหนดให้การยุบสภาก่อนครบวาระจะกระทำได้ก็ต่อเมื่อได้รับเสียงเห็นชอบจากสภาผู้แทนราษฎรเป็นจำนวนสองในสาม
๑๔ ตุลาฯ ที่เกิดขึ้นก่อน ๑๔ ตุลาฯ (ตอนที่ ๑๕)
ในตอนที่ผ่านมา ผู้เขียนได้กล่าวถึงความขัดแย้งที่เกิดขึ้นจากความเห็นต่างในเค้าโครงเศรษฐกิจที่หลวงประดิษฐ์มนูธรรมร่างขึ้นเพื่อหวังจะให้เป็นนโยบายเศรษฐกิจแห่งชาติ
ในแผ่นดินพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว (ตอนที่ ๑๗)
ในตอนที่แล้ว ผู้เขียนได้ตั้งข้อสังเกตต่อข้อความบางตอนในปาฐกถกาของสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาดำรงราชานุภาพ ทรงแสดงที่สามัคยาจารย์สมาคม เมื่อวันที่ 8 ตุลาคม พ.ศ. 2470
๑๔ ตุลาฯ ที่เกิดขึ้นก่อน ๑๔ ตุลาฯ (ตอนที่ ๑๔)
สาเหตุประการหนึ่งที่คณะกู้บ้านกู้เมือง (กบฏบวรเดช) ต้องยื่นข้อเรียกร้องต่อรัฐบาลพันเอก พระยาพหลพลพยุหเสนาในเดือนตุลาคม พ.ศ. ๒๔๗๖ คือ คณะกู้บ้านกู้เมืองไม่มั่นใจว่ารัฐบาลจะมีระบอบพระมหากษัตริย์ภายใต้รัฐธรรมนูญเป็นเป้าหมาย
๑๔ ตุลาฯ ที่เกิดขึ้นก่อน ๑๔ ตุลาฯ (ตอนที่ ๑๓)
สาเหตุประการหนึ่งที่คณะกู้บ้านกู้เมือง (กบฏบวรเดช) ต้องยื่นข้อเรียกร้องต่อรัฐบาลพันเอก พระยาพหลพลพยุหเสนาในเดือนตุลาคม พ.ศ. ๒๔๗๖ คือ
เว้นวรรครัฐประหาร (ตอนที่ ๑๓): การเปลี่ยนแปลงเงื่อนไขการยุบสภาเมื่อใกล้ครบวาระของอังกฤษ
ในปี ค.ศ. 2011 อังกฤษได้มีการออกพระราชบัญญัติที่เรียกว่า the Fixed-Term Parliament ที่กำหนดให้การยุบสภาก่อนครบวาระจะกระทำได้ก็ต่อเมื่อได้รับเสียงเห็นชอบจากสภาผู้แทนราษฎรเป็น
๑๔ ตุลาฯ ที่เกิดขึ้นก่อน ๑๔ ตุลาฯ (ตอนที่ ๑๒)
คณะกู้บ้านกู้เมือง (กบฏบวรเดช) ได้ยื่นข้อเรียกร้อง ๖ ข้อต่อรัฐบาลพันเอก พระยาพหลพลพยุหเสนา หนึ่งในนั้นคือ ต้องการให้รัฐบาล “ต้องจัดการทุกอย่างที่จะอำนวยผลให้ประเทศสยามมีพระมหากษัตริย์ปกครองภายใต้รัฐธรรมนูญชั่วกัลปวสาน”
ในแผ่นดินพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว (ตอนที่ ๑๖)
พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงพระราชทานสัมภาษณ์แก่นายแฮโรลด์ เอน. เดนนี ซึ่งต่อมานายเดนนีได้ส่งบทความการสัมภาษณ์ดังกล่าวไปตีพิมพ์ในหนังสือพิมพ์นิวยอร์คไทม์ภายใต้หัวข้อ