ป้ายกำกับ :
ไชยันต์-ไชยพร
ในแผ่นดินพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว (ตอนที่ ๑๒)
คราวที่แล้ว ผู้เขียนได้กล่าวไว้ว่า เป็นประเด็นที่น่าศึกษาอย่างยิ่งที่พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าฯในฐานะพระมหากษัตริย์พระองค์ที่เจ็ดในราชวงศ์จักรี
เว้นวรรครัฐประหาร (ตอนที่ ๗)
เมื่อพิจารณาจากประวัติศาสตร์จะพบว่า อำนาจในการยุบสภาสามารถย้อนกลับไปในสมัยยุคกลางของอังกฤษที่สภาในสมัยนั้นคือ “มหาสภา” (great councils of the ‘estates of the realm)
ในแผ่นดินพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว (ตอนที่ ๑๑)
ถ้าใครอยากทราบว่า พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงมีพระราชดำริในการเตรียมตัวสู่ประชาธิปไตยอย่างไร สามารถอ่านได้จาก
เว้นวรรครัฐประหาร (ตอนที่ ๖)
ก่อนรัฐประหาร ๑๙ กันยายน พ.ศ. ๒๕๔๙ ได้เกิดข้อถกเถียงว่า นายกรัฐมนตรีรักษาการลาออกจากตำแหน่งรักษาการได้หรือไม่ ?
ในแผ่นดินพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว (ตอนที่ ๑๐)
ในตอนก่อน ผู้เขียนได้เริ่มสรุปความจาก “Democracy in Siam” อันเป็นพระราชบันทึกของพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวที่ทรงพระราชทานไปยังคณะองคมนตรี
เว้นวรรครัฐประหาร (ตอนที่ ๕)
ก่อนเกิดรัฐประหาร ๑๙ กันยายน พ.ศ. ๒๕๔๙ ได้เกิดปรากฏการณ์ความขัดแย้งทางการเมืองที่ดูจะเป็นวิกฤตการเมืองที่ไม่เคยเกิดขึ้นมาก่อน
ในแผ่นดินพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว (ตอนที่ ๙)
ในตอนก่อน ผู้เขียนได้เริ่มสรุปความจาก “Democracy in Siam” อันเป็นพระราชบันทึกของพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวที่ทรงพระราชทาน
เว้นวรรครัฐประหาร (ตอนที่ ๔)
หลังเหตุการณ์พฤษภาทมิฬ พ.ศ. ๒๕๓๕ การเมืองไทยเว้นว่างรัฐประหารเป็นเวลา ๑๔ ปี และเป็นช่วงเวลาที่นายกรัฐมนตรีมาจากสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร
ในแผ่นดินพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว (ตอนที่ ๘)
“Democracy in Siam” เป็นพระราชบันทึกของพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวที่ทรงพระราชทานไปยังคณะองคมนตรี
เว้นวรรครัฐประหาร (ตอนที่ ๓)
ตอนที่แล้ว ได้กล่าวสาเหตุที่การเมืองไทยในช่วงระหว่าง พ.ศ. ๒๕๐๑-๒๕๑๔ ปลอดรัฐประหารเพราะฝ่ายที่มีศักยภาพในการทำรัฐประหารเป็นผู้ครองอำนาจเอง
ในแผ่นดินพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว (ตอนที่ ๗)
“Democracy in Siam” เป็นพระราชบันทึกของพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวที่ทรงพระราชทานไปยังคณะองคมนตรี
เว้นวรรครัฐประหาร (ตอนที่ ๒)
หากมองในภาพรวมแล้ว จะพบแนวโน้มที่รัฐประหารไทยจะลดน้อยลงดังที่ได้แสดงให้เห็นไปตอนที่แล้ง และเมื่อพิจารณาช่วงระยะเวลาที่ปลอดรัฐประหารในการเมืองไทย
ในแผ่นดินพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว (ตอนที่ ๖)
เบนจามิน บัตสัน นักวิชาการตะวันตกเชื่อว่า เอกสารเรื่อง “Democracy in Siam” เป็นพระราชบันทึกของพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวที่ทรงพระราชทาน
เว้นวรรครัฐประหาร (ตอนที่ ๑)
อย่างที่เคยเขียนไปในที่ต่างๆว่า ประเทศไทยเรา มีการทำรัฐประหารติดอันดับโลก โดยในศตวรรษที่ยี่สิบ เรามาเป็นอันดับสอง
ในแผ่นดินพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว (ตอนที่ ๕)
ต่อจากคำถามเกี่ยวกับกฎการสืบราชสันตติวงศ์ที่พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงมีพระราชหัตถเลขาในภาษาอังกฤษภายใต้หัวข้อ “The Problems of Siam”
45 ปี 6 ตุลาฯ: แนวโน้มการครองอำนาจยาวนานของผู้นำทางการเมืองในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ในช่วงระหว่างและหลังสงครามเย็น ลี กวน ยู นายกรัฐมนตรีสิงคโปร์ (ตอนจบ)
ตอนที่แล้วได้เล่าถึงความสำเร็จอันยิ่งใหญ่ของ ลีกวนยู ในการเป็นนายกรัฐมนตรีสิงคโปร์ต่อเนื่องเป็นเวลาถึง 31 ปี (พ.ศ. 2502 – พ.ศ. 2533)
ในแผ่นดินพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว (ตอนที่ ๔)
นอกจากฟรานซิส บี. แซร์ (พระยากัลป์ยาณไมตรี) ที่ปรึกษาด้านการต่างประเทศจะตอบคำถามและให้คำแนะนำต่อพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว
45 ปี 6 ตุลาฯ: แนวโน้มการครองอำนาจยาวนานของผู้นำทางการเมืองในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ในช่วงระหว่างและหลังสงครามเย็น
ลี กวน ยู เป็นอีกหนึ่งผู้นำทางการเมืองในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ที่ครองอำนาจยาวนานต่อเนื่องกันเป็นเวลา 31 ปี (พ.ศ. 2502 – พ.ศ. 2533) แต่เงื่อนไขของสิงคโปร์แตกต่างจากพม่า ลาว กัมพูชาและเวียดนาม
ในแผ่นดินพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว (ตอนที่ ๓)
ในเดือนกรกฎาคม พ.ศ. 2469 พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงปรึกษาฟรานซิส บี. แซร์ (Francis B. Sayre/ พระยากัลยาณไมตรี) ที่ปรึกษาด้านการต่างประเทศเกี่ยวกับเกณฑ์ในการได้มาซึ่งผู้สืบราชสันตติวงศ์ แซร์ได้ถวายคำแนะนำ
45 ปี 6 ตุลาฯ: แนวโน้มการครองอำนาจยาวนานของผู้นำทางการเมืองในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ในช่วงระหว่างและหลังสงครามเย็น
ในตอนที่แล้ว ได้กล่าวถึงนายทหารรุ่นหนุ่มหรือ “ยังเติร์กพม่า” ที่มีบทบาทสำคัญในการปฏิรูปประเทศตั้งแต่นายพลเนวินจัดตั้งรัฐบาลรักษาการขึ้นในปลายปี พ.ศ. 2501