ป้ายกำกับ :
วิทูรย์ ทิพย์กองลาศ
ชวนชิมกาแฟอินเดีย
วันหนึ่งของเดือนตุลาคม พ.ศ. 2559 ที่นครโกลกาตา ประเทศอินเดีย ผมสั่งกาแฟดื่มจากร้านข้างถนน นั่งมองฝูงแพะที่กำลังเดินมาโดยมีเด็กหนุ่มเดินนำ แพะสองสามตัวก้มลงดื่มน้ำในกะละมังของอาบังเจ้าของร้าน
บอกลาบราซิล
ขออนุญาตท่านผู้อ่านยกยอดการเยี่ยมชมพิพิธภัณฑ์ฟุตบอลไปเป็นวันอาทิตย์หน้าซึ่งจะเป็นวันอาทิตย์สุดท้ายที่ผมจะพบกับท่านผู้อ่านในหน้า 4 หนังสือพิมพ์ไทยโพสต์แห่งนี้ครับ
ลา ‘รีโอ’ กลับ ‘เซาเปาโล’
บทเพลง The Girl from Ipanema ในหัวจบลงไป จากรูปปั้นของ Tom Jobim (ผู้แต่งทำนองเพลงนี้ขึ้นมาเมื่อ 60 ปีก่อน) บนทางเดินริมชายหาดอิปาเนมาช่วงใกล้จะสุดฝั่งตะวันออกของหาด เมื่อเดินไปอีกนิด หาดก็เปลี่ยนชื่อเป็น “อาปัวดอร์” (Apoador) แม้หาดจะมีความต่อเนื่องกันชนิดไม่เห็นรอยต่อก็ตาม
The Girl from Ipanema
เมโทรหรือรถไฟฟ้าในนครรีโอเดจาเนโรมีอยู่ด้วยกัน 3 สาย รวม 41 สถานี ครอบคลุม 58 กิโลเมตร ดูเหมือนน้อยและหลายคนอาจคิดว่ามีไม่เพียงพอเมื่อเทียบกับจำนวนประชากรของเมืองที่มีมากกว่า 12 ล้านคน
อาร์เจนตินาและฟลาเมงโก
กาชาซาออกฤทธิ์หลังตื่นนอนแค่นิดหน่อย และพออาบน้ำสระผมแล้วอาการคั่งค้างจากเมื่อคืนก็หมดไป ไม่แน่ อากาศเย็นๆ อาจมีส่วนช่วย รีโอเดจาเนโรช่วงกลางเดือนสิงหาคมหนาวกำลังดี แต่ที่ไม่ดีคือฟ้ามีเมฆมาก บนภูเขามีหมอกหนา
คืนนี้ที่ ‘โคปาคาบานา’
เดิมทีย่านนี้มีชื่อว่า “ซาโคเปนาเปิง” ตามภาษา “ตูปี” ชนพื้นเมืองในภูมิภาคนี้ของบราซิล แปลว่า “วิถีแห่งโซโคส” ซึ่งโซโคส (Socós) คือนกชนิดหนึ่ง
บนเส้นทาง เซาเปาโล – รีโอเดจาเนโร
รถไฟบราซิลในปัจจุบันส่วนใหญ่เป็นรถไฟขนส่งสินค้า รถไฟโดยสารที่เคยเป็นของรัฐถูกแปรรูปเป็นของเอกชนในช่วงปี ค.ศ. 1996 – 1999 แต่หลังจากนั้นหลายเส้นทางประสบปัญหาขาดทุน รถและรางถูกปล่อยให้ชำรุดทรุดโทรม และใช้การไม่ได้ จนต้องปิดตัวลงไปเป็นจำนวนมาก
ถนนของชาวเซาเปาโล
São Paulo มีคนไทยบางคนออกเสียงเพี้ยนเป็น “เซ้า เปาโล” การออกเสียงที่ถูกต้องในภาษาโปรตุเกสคือ “ซัง เปาลู” แต่คนที่ใช้ภาษาอังกฤษเป็นหลักจะออกเสียง “เซา เปาโล” ในที่นี้ผมขอใช้ “เซาเปาโล”
ตามหาเปเล่ในตรอกมนุษย์ค้างคาว
Pinheiros (ปิงเยโรส) เป็น 1 ใน 32 เขตของนครเซาเปาโล เศรษฐกิจดีสุด มีพิพิธภัณฑ์สำคัญๆ หลายแห่ง เช่นเดียวกับแหล่งท่องเที่ยวจำนวนมาก และหนึ่งในนั้นคือ “ตรอกมนุษย์ค้างคาว”
คนมีน้ำใจในเซาเปาโล
รถบัสวิ่งออกจากสถานีขนส่งนานาชาติฟอซดูอีกวาซู (Rodoviaria Internacional de Foz do Iguacu) เวลา 19.00 น. ระยะทางจากเมืองฟอซดูอีกวาซูถึงนครเซาเปาโลประมาณ 1 พันกิโลเมตร
บนเส้นทางโปซาดัส-เซาเปาโล
รถบัสของบริษัท Crucero del Norte วิ่งจากเมืองโปซาดัสขึ้นเหนือ มีปลายทางคือเมืองปวยโตอีกวาซูที่อยู่ห่างไปประมาณ 300 กิโลเมตร ทั้งสองเมืองนี้อยู่ในรัฐเดียวกัน ชื่อว่ารัฐมีซีโอเนส
แวะโปซาดัส พักวัดลาว (2)
วานนี้อากาศยังดี เวลาสิบโมงครึ่งอุณหภูมิ 25 องศา ทั้งวันสูงสุด 30 องศา และต่ำสุด 18 องศา แต่พอเช้านี้ฝนเทลงมาไม่หยุดหย่อน
แวะโปซาดัส พักวัดลาว
ก่อนเดินทางมาเมืองโปซาดัส (Posadas) เมืองหลวงของรัฐมีซีโอเนส (Misiones Provincia) ทางเหนือของอาร์เจนตินา ผมได้คุยแอปเมสเซนเจอร์กับ “พระสีวอน ธัมมพิสิทโธ” เจ้าอาวาส “วัดลาวรัตนรังสิยาราม (แก้วสว่าง)” หรือที่นิยมเรียก “วัดลาวโปซาดัส” ว่าจะมากราบเยี่ยม
Adios Buenos Aires
การเจ็บไข้ได้ป่วยคือสิ่งที่น่ากังวลมากที่สุดระหว่างการเดินทางท่องเที่ยว พอๆ กับที่ต้องระมัดระวังตัวไม่ให้โดนปล้น
Retiro และ Puerto Madero
นึกสนุกอะไรขึ้นมาก็ไม่รู้ ผมถึงเข้าพักในโฮสเทลยอดนิยมแห่งหนึ่งของกรุงบัวโนสไอเรสช่วงที่โควิด-19 ยังระบาดอยู่ ลูกค้าส่วนใหญ่เป็นคนหนุ่มสาวนักเดินทาง ในโฮสเทลมีบาร์ มีปาร์ตี้เล็กๆ
จัตุรัสพฤษภาและไชน่าทาวน์
กรุงบัวโนสไอเรสมีการตัดถนนเป็นรูปตารางสี่เหลี่ยมจำนวนนับไม่ถ้วน ผังเมืองดูคล้ายตะแกรงเหล็กหรือกระดานหมากรุก แบ่งอาคารบ้านเรือนเป็นบล็อกๆ
ครึ่งศตวรรษตลาดนัด San Telmo
หมาดำชื่อลูนายังนอนขดอยู่บนที่นอนของเธอในห้องนั่งเล่น ผมตื่นประมาณ 8 โมงเช้า เปิดประตูระเบียงออกไปเช็กอากาศแล้วก็ต้องรีบกลับเข้ามาในห้องนั่งเล่น
อพาร์ตเมนต์แห่งนั้นที่'ซาน เตลโม'
คาดการณ์ได้ว่า Nueve de Julio หรือวันที่ 9 กรกฎาคม “วันชาติอาร์เจนตินา” ที่พักทำเลดีหลายแห่งคงจะเต็มกันหมด ยิ่งปีนี้ตรงกับวันเสาร์
วันชาติที่กรุงบัวโนสไอเรส
จากเมืองชาสโคมุสเข้ากรุงบัวโนสไอเรส ระยะทาง 130 กิโลเมตร สามารถเดินทางโดย 1.รถไฟที่สถานีชาสโคมุสซึ่งอยู่นอกตัวเมือง 2.รถบัสที่จุดจอดรถบัสหน้าสถานีรถไฟ และ 3.รถบัสของบริษัท Ricchieri ในเขตตัวเมือง
เที่ยวชาสโคมุส บ้านเกิดรัฐบุรุษอาร์เจนฯ
ถนนหน้าวัดหลวงอาร์เจนตินาและถนนในละแวกใกล้เคียงยังเป็นถนนดินบดอัด โรยด้วยหินคลุก มีสภาพเป็นหลุมเป็นบ่ออยู่ทั่วไป ฝุ่นฟุ้งกระจายเมื่อรถวิ่งผ่าน มอเตอร์ไซค์มีมากกว่ารถยนต์ ไม่น้อยเป็นแบบที่ใช้แข่งทางวิบาก แต่มอเตอร์ไซค์แบบสกูตเตอร์มีมากกว่า ส่วนใหญ่มาจากจีน