ป้ายกำกับ :
ไชยันต์-ไชยพร
๑๔ ตุลาฯ ที่เกิดขึ้นก่อน ๑๔ ตุลาฯ (ตอนที่ ๒๖)
หลังจากที่ได้พิจารณาเค้าโครงเศรษฐกิจของหลวงประดิษฐ์มนูธรรมและพระบรมราชวินิจฉัยที่พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวมีต่อเค้าโครงเศรษฐกิจดังกล่าว ที่ประชุมคณะรัฐมนตรีวันที่ ๒๘ มีนาคม พ.ศ. ๒๔๗๖
ในแผ่นดินพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว (ตอนที่ ๒๘): ร่างรัฐธรรมนูญในสมัยรัชกาลที่เจ็ด
สองตอนที่แล้ว ผู้เขียนได้กล่าวถึงเค้าโครงรัฐธรรมนูญที่พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงโปรดเกล้าฯให้นายเรมอนด์ บี. สตีเวนส์
ในแผ่นดินพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว (ตอนที่ ๒๗): ร่างรัฐธรรมนูญในสมัยรัชกาลที่เจ็ด
พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงโปรดเกล้าฯให้นายเรมอนด์ บี. สตีเวนส์ ที่ปรึกษากระทรวงการต่างประเทศและพระยาศรีวิศาลวาจา
เรื่องของลุงตู่กับตัวแบบในประวัติศาสตร์การทำรัฐประหาร
สตอรี่ของลุงตู่กับประวัติการทำรัฐประหารนี้ ผู้เขียนขอย้อนเวลากลับไปในประวัติศาสตร์พอสมควร คงยังจำกันได้ว่า หลังลุงตู่ทำรัฐประหารวันที่ 22 พฤษภาคม 2557
ในแผ่นดินพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว (ตอนที่ ๒๖): ร่างรัฐธรรมนูญในสมัยรัชกาลที่เจ็ด
พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงโปรดเกล้าฯให้นายเรมอนด์ บี. สตีเวนส์ ที่ปรึกษากระทรวงการต่างประเทศและพระยาศรีวิศาลวาจา
อนาคตพรรคการเมืองไทยในการเลือกตั้งปีหน้า (ตอนที่ 3) : นายกรัฐมนตรีคนต่อไป
ตามหลักการปกครองระบบรัฐสภา นายกรัฐมนตรีไม่ได้มาจากการเลือกตั้งของประชาชนเหมือนในกรณีการปกครองระบบประธานาธิบดี แต่นายกรัฐมนตรีจะมาจากสภาผู้แทนราษฎร
ในแผ่นดินพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว (ตอนที่ ๒๕)
รองศาสตราจารย์ สนธิ เตชานันท์ ได้รวบรวมเอกสารสำคัญที่เกี่ยวข้องกับแผนพัฒนาการเมืองไปสู่การปกครองระบอบประชาธิปไตยของพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว
อนาคตพรรคการเมืองไทยในการเลือกตั้งปีหน้า (ตอนที่ 2) : พรรคเล็ก-พรรคอัตลักษณ์การเมือง (politics of identity)
การเมืองเรื่องอัตลักษณ์ (identity politics) เป็นศัพท์วิชาการทางรัฐศาสตร์ที่ใช้อธิบายแนวการศึกษาปรากฏการณ์ทางการเมืองที่เกิดจากการที่กลุ่มคนรวมตัวกันด้วยปัจจัยใดปัจจัยหนึ่ง
ในแผ่นดินพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว (ตอนที่ ๒๔)
รองศาสตราจารย์ สนธิ เตชานันท์ ได้รวบรวมเอกสารสำคัญที่เกี่ยวข้องกับแผนพัฒนาการเมืองไปสู่การปกครองระบอบประชาธิปไตยของพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว
๑๔ ตุลาฯ ที่เกิดขึ้นก่อน ๑๔ ตุลาฯ (ตอนที่ ๒๕)
หลังจากที่ได้พิจารณาเค้าโครงเศรษฐกิจของหลวงประดิษฐ์มนูธรรมและพระบรมราชวินิจฉัยที่พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวมีต่อเค้าโครงเศรษฐกิจดังกล่าว
อนาคตพรรคการเมืองไทยในการเลือกตั้งปีหน้า: ตอนที่ ๑: พรรครวมไทยสร้างชาติ
คงเห็นกันแล้วว่า มีพรรคการเมืองเกิดใหม่, สลายตัว, ควบรวมกัน จนขณะนี้ ก็ดูเหมือนจะยังฝุ่นตลบ ไม่นิ่ง แต่ที่แน่และนิ่งก็คือ คำประกาศเป็นแคนดิเดทนายกรัฐมนตรีให้พรรครวมไทยสร้างชาติของลุงตู่
ในแผ่นดินพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว (ตอนที่ ๒๓)
รองศาสตราจารย์ สนธิ เตชานันท์ ได้รวบรวมเอกสารสำคัญที่เกี่ยวข้องกับแผนพัฒนาการเมืองไปสู่การปกครองระบอบประชาธิปไตยของพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว
เว้นวรรครัฐประหาร (ตอนที่ ๒๐): การยุบสภาผู้แทนราษฎรวันที่ ๒๔ กุมภาพันธ์ ๒๕๔๙
ในตอนที่แล้ว ผู้เขียนได้นำเสนอความเห็นของศาสตราจารย์ กิตติคุณ ดร. บวรศักดิ์ อุวรรณโณ ต่อกรณีการยุบสภาของคุณทักษิณ ชินวัตร นายกรัฐมนตรีในขณะนั้น
๑๔ ตุลาฯ ที่เกิดขึ้นก่อน ๑๔ ตุลาฯ (ตอนที่ ๒๔)
ในการประชุมคณะรัฐมนตรีวันที่ ๒๘ มีนาคม พ.ศ. 2476 ได้มีการพิจารณาเค้าโครงเศรษฐกิจของหลวงประดิษฐ์มนูธรรมในฐานะที่เป็นร่างนโยบายเศรษฐกิจแห่งชาติ
๑๔ ตุลาฯ ที่เกิดขึ้นก่อน ๑๔ ตุลาฯ (ตอนที่ ๒๓)
ในเค้าโครงเศรษฐกิจ หลวงประดิษฐ์มนูธรรมใช้คำว่า parasite หรือพวกหนักโลก โดยเขากล่าวว่า “ในประเทศไทยนี้มีบุคคลที่เกิดมาหนักโลกอาศัยบุคคลอื่นกินมีจำนวนไม่น้อย กล่าวคือ ตนไม่เป็นผู้ประกอบการเศรษฐกิจ หรือกิจการใดให้เหมาะสมกับแรงงานของคน อาศัยอาหาร เครื่องนุ่งห่ม
ในแผ่นดินพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว (ตอนที่ ๒๒)
รองศาสตราจารย์ สนธิ เตชานันท์ ได้รวบรวมเอกสารสำคัญที่เกี่ยวข้องกับแผนพัฒนาการเมืองไปสู่การปกครองระบอบประชาธิปไตยของพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว ซึ่งนอกจากจะมีพระราชนิพนธ์ พระราชหัตถเลขา พระราชบันทึก บทสัมภาษณ์พระราชทานแล้ว ยังมีเอกสารของบุคคลต่างๆอีกด้วย
เว้นวรรครัฐประหาร (ตอนที่ ๑๙): การยุบสภาผู้แทนราษฎรวันที่ ๒๔ กุมภาพันธ์ ๒๕๔๙
การยุบสภาผู้แทนราษฎรวันที่ ๒๔ กุมภาพันธ์ ๒๕๔๙ นับเป็นการยุบสภาฯครั้งที่ ๑๒ ในประวัติศาสตร์การเมืองไทย และเป็นการยุบสภาฯที่แตกต่างไปจากการยุบสภาฯ ๑๑
ในแผ่นดินพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว (ตอนที่ ๒๑)
ในปี พ.ศ. 2474 พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงเสด็จประพาสสหรัฐอเมริกา และทรงพระราชทานสัมภาษณ์แก่นายแฮโรลด์ เอน. เดนนี (Harold N. Denny) ต่อมานายเดนนีได้เขียนบทสัมภาษณ์ดังกล่าวภายใต้หัวข้อ
เว้นวรรครัฐประหาร (ตอนที่ ๑๘): การยุบสภาผู้แทนราษฎรวันที่ ๒๔ กุมภาพันธ์ ๒๕๔๙
การยุบสภาผู้แทนราษฎรวันที่ ๒๔ กุมภาพันธ์ ๒๕๔๙ นับเป็นการยุบสภาฯครั้งที่ ๑๒ และเป็นการยุบสภาฯที่มีลักษณะที่แตกต่างไปจากการยุบสภาฯ ๑๑ ครั้งก่อนหน้า และในความเห็นของผู้เขียน การยุบสภาฯครั้งที่ ๑๒ ถือเป็นการยุบสภาฯที่ผิดหลักการการยุบสภาฯตามแบบแผนการปกครองระบบรัฐสภาที่มีสหราชอาณาจักรเป็นต้นแบบ
ในแผ่นดินพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว (ตอนที่ ๒๐)
“พระมหากษัตริย์ได้ทรงวางโครงการที่จะให้มีการออกเสียงลงคะแนนเพื่อทดลองประชาธิปไตย” (https://www.nytimes.com/1931/04/28/archives/suffrage-for-siam-is-planned-by-king-to-test-democracy-fatherly.html)