ป้ายกำกับ :
สุทธิชัย หยุ่น
‘มาครง’แห่งฝรั่งเศสเล่นบท‘หัวหอก’ พร้อมส่งทหารช่วยยูเครนรบรัสเซีย
ประธานาธิบดีเอมมานูเอล มาครง ของฝรั่งเศส กำลังจะแสดงตนเป็นผู้นำยุโรปที่พร้อมจะเผชิญหน้ากับรัสเซีย…ในยูเครน
แผนรัฐบาลเศรษฐาเรื่อง Reskill-Upskill อยู่ไหน?
วันก่อนเขียนถึงนโยบายรัฐบาลสิงคโปร์ที่ให้เงินอุดหนุนคนวัย 40 ขึ้นกลับไปเรียนทักษะใหม่เพื่อปรับตัวให้ทันกับความเปลี่ยนแปลงในยุค AI
ถ้านาโตรบกับรัสเซีย?
ฉากทัศน์ที่น่ากังวลวันนี้คือ: ถ้านาโตส่งทหารเข้ายูเครนเพื่อรบกับรัสเซีย จะเกิดอะขึ้น?
อายุเป็นปัจจัยตัดสิน ไบเดน-ทรัมป์เพียงใด?
คนมะกันมีทางเลือกคนที่จะมาเป็นประธานาธิบดีแค่สองผู้เฒ่าอย่างนั้นหรือ?
แผนยกทักษะคนวัย 40 ขึ้น ตั้งรับยุค AI ของสิงคโปร์
ถ้าเราจะช่วยให้คนไทยแปร “ภัยคุกคาม” อันเกิดจากเทคโนโลยีเป็น “โอกาส” ก็ต้องมีการฝึกทักษะใหม่ให้แก่คนที่มีหน้าที่การงาน ที่อาจจะถูกทดแทนโดยวิทยาการสมัยใหม่
Transnistria: ดินแดนเล็ก ๆ ที่ส่งเสียงดังข้างสมรภูมิยูเครน!
ชื่อของ Transnistria โผล่มาเป็นข่าวในช่วงนี้เพราะเกิดความเคลื่อนไหวขอให้รัสเซียมา “ปกป้อง” ตนจากภัยคุกคามของประเทศ Moldova
ศึกทหารพม่ากับฝ่ายต่อต้าน ที่ยะไข่เพิ่มความรุนแรงต่อเนื่อง
ยิ่งวันการสู้รบในเมียนมาก็ยิ่งขยับเข้าไปในจุดที่ตั้งของประชาชนเพราะฝ่ายกองทัพพม่ากำลังเพลี่ยงพล้ำ และต้องการจะกดดันให้ฝ่ายต่อต้านยอมถอยออกจากแนวรบที่กำลังได้เปรียบฝ่ายทหารประจำการ
ปูติน: ถ้ายูเครนเข้านาโต ระวังสงครามนิวเคลียร์!
เข้าสู่ปีที่ 3 ของสงครามยูเครนตั้งแต่สัปดาห์ที่ผ่านมา ความตึงเครียดก็ถูกยกระดับทันที
อันวาร์กับการถ่วงดุล อิทธิพลจีน-สหรัฐฯ
นายกฯอันวาร์ อิบราฮิมของมาเลเซียกำลังพยายามจะแก้ปัญหาเศรษฐกิจที่ถูกกระทบจากหลายปัจจัย ไม่ต่างกับที่อีกหลายประเทศรวมถึงไทยต้องเจออยู่
การเมืองวงศ์ตระกูล และเครือข่ายในกัมพูชา
เป็นอันครบสูตร…ตระกูล “ฮุน” ของกัมพูชา ที่ได้ยึดครองตำแหน่งสำคัญๆ ทั้งในรัฐบาล, สภา และกองทัพเรียบร้อย
ข่าวร้ายจากพม่า เพิ่มความตึงเครียดทั่วอาเซียน
การที่มิน อ่องหล่ายต้องประกาศเกณฑ์ทหารจนสร้างความแตกตื่นไปทั่วประเทศมีสาเหตุมาจากความเพลี่ยงพล้ำในสนามรบที่ฝ่ายต่อต้านเริ่มจะรุกคืบอย่างหนักหน่วงตั้งแต่ปลายปีที่ผ่านมา
ไทยเผชิญภาระชายแดนเพิ่ม หนุ่ม-สาวพม่าหนีเกณฑ์ทหาร
คลื่นคนหนุ่ม-สาวพม่ากำลังจะหนีออกนอกประเทศอีกครั้ง เป็นการ “หนี” ระลอกที่สองนับตั้งแต่รัฐประหารเมื่อ 3 ปีก่อน
อินโดนีเซียกับ ‘ส้มหล่น’ จากการเผชิญหน้าของยักษ์ใหญ่
เมื่อวานเขียนถึงประเด็นอุตสาหกรรมย้ายจากจีนไปอินเดียเมื่อเกิดสถานการณ์ที่สหรัฐฯกับจีนใช้นโยบาย de-risk หรือ “ลดความเสี่ยงของกันและกัน” เพื่อเอาชนะคะคานกันในเวทีระหว่างประเทศ
พอยักษ์ทะเลาะกัน ส้มก็มาหล่น ที่อินเดียกับอินโดนีเซีย
เมื่อสหรัฐกับจีนใช้นโยบาย de-risk คือ ‘ลดความเสี่ยงต่อกันและกัน’ ก็แปลว่า 2 ยักษ์จะลดการไปมาหาสู่กันด้านเศรษฐกิจ…คำถามที่ประเทศไทยควรถามทันทีก็คือ…ใครจะสามารถฉวยจังหวะนี้สร้างโอกาสให้กับตัวเอง
สิงคโปร์, มาเลเซีย แจกเงินโดยไม่กู้ และปฏิรูประบบภาษีพร้อมกัน
หลายประเทศแจกเงินให้ประชาชนเพื่อช่วยกลุ่มคนเปราะบาง…แต่ไม่ได้กู้มาแจก และไม่ต้องทำดิจิทัลวอลเล็ตให้ยุ่งยาก
'ปราโบโว' ผู้นำคนใหม่อินโดฯ จะก้าวพ้นร่มเงาโจโกวีได้อย่างไร?
ประธานาธิบดีคนใหม่ของอินโดนีเซีย จะปรับเปลี่ยนการเมืองในประเทศและเวทีระหว่างประเทศอย่างไร?
ความตายอันเป็นปริศนาของ ‘นาวาลนี’ ผู้กล้าท้าทายปูติน
ภาพนี้ Alexei Navalny หรือนาวาลนีและภรรยาชื่อ “ยูเลีย” พร้อมด้วยนักการเมืองฝ่ายค้านและผู้ประท้วงคนอื่นๆ ในการเดินขบวนในกรุงมอสโก เพื่อรำลึกถึงผู้วิพากษ์วิจารณ์เครมลินที่ถูกสังหาร บอริส เนมต์ซอฟ ในเดือนกุมภาพันธ์ 2020
Alexei Navalny: ความตาย ปริศนาของคู่ปรับ ‘ปูติน’
เขารู้ล่วงหน้าแล้วว่าจะต้องตายก่อนวัย เขารู้ว่าการรณรงค์ต่อต้านปูตินเป็นความเสี่ยงที่สุดในชีวิต และเขาก็รู้ว่าถ้าเขาโค่นปูตินไม่ลง เขาก็ต้องมีอันเป็นไป
‘จับผิด’ ปูติน...เจาะลึกหรือริษยา?
ประธานาธิบดีปูตินของรัสเซียร่ายยาวเล่าประวัติศาสตร์ให้พิธีกรทักเกอร์ คาร์สันฟังในการสัมภาษณ์ที่กำลังถูกวิพากษ์วิจารณ์อย่างกว้างขวางไปทั่วโลก