ป้ายกำกับ :
สุทธิชัย หยุ่น
เมื่อเวียดนามประกาศตั้ง Silicon Valley ของตัวเอง
เพื่อนบ้านเราที่ผู้คนจับตาว่ากำลังเดินหน้าสร้างเศรษฐกิจรูปแบบใหม่อย่างคึกคักนอกจากอินโดฯ, สิงคโปร์, มาเลเซียแล้วก็คือเวียดนามอย่างที่ทราบกันโดยทั่ว
โจโควีกับการแข่งขันของ มหาอำนาจในภูมิภาค
บทบาทของประธานาธิบดีโจโค วิโดโดแห่งอินโดนีเซียในฐานะนักการทูตเอเซียคนแรกที่บินว่อนไปพบผู้นำสหรัฐฯ, จีน, รัสเซีย,ยูเครนและสหภาพยุโรปโดดเด่นเป็นพิเศษ
โจโควีไปหาอีลอน มัสก์ทำไม?
ผู้นำอินโดนีเซียโจโค วิโดโดทำอะไรที่ผู้นำชาติอื่นไม่ทำ…เช่นเป็นผู้นำเอเชียคนแรกที่บินไปพบปูติน, เซเลนสกี, ไบเดนและสี จิ้นผิงเพื่อให้ทุกคนมาร่วมประชุมสุดยอด G-20 ที่บาหลีสิ้นปีนี้
หลังซ้อมรบใหญ่ ปักกิ่งก็ขวาง มะกันคุยเรื่องค้าชายกับไต้หวัน
ปักกิ่งยังเดินหน้ากดดันไต้หวันต่อไป…เหมือนจะต้องการสั่งสอนว่าต่อไปนี้จะโดนปิดล้อมการติดต่อกับตะวันตกทุกวิถีทาง
ถ้าคิมส่งทหารไปรบ ข้างรัสเซียที่แนวรบยูเครน?
ภาพของคิมจองอึนกับทหารแพทย์ดูแปลก ๆ แต่เป็นความจงใจของท่านผู้นำเกาหลีเหนือที่ต้องการสร้างความแตกต่าง
สุดเสี่ยง! เมื่อโรงไฟฟ้านิวเคลียร์ กลายเป็น ‘สมรภูมิสงคราม’
ก่อนที่เราจะกลัวว่ารัสเซียกับโลกตะวันตกจะเปิดสงครามนิวเคลียร์ที่จะมีผลทำลายล้างโลกนั้นเราต้องวิตกอย่างยิ่งกับความเสี่ยงที่โรงไฟฟ้านิวเคลียร์ที่ใหญ่ที่สุดของยูเครนถูกระเบิดของทั้งสองฝ่ายถล่มโจมตีจนกลายเป็น “มหันตภัย” ที่ควบคุมไม่ได้
คิสซิงเจอร์ (99) เตือนมะกัน อยู่ปากเหวสงครามกับจีนและรัสเซีย
สหรัฐฯ กำลังยืนอยู่บน “ปากเหว” ของสงครามกับรัสเซียและจีน เพราะวอชิงตันปฏิเสธประเพณีการทูตแบบดั้งเดิม
ถ้าสี จิ้นผิง-ไบเดน มาไทย ปูตินก็ต้องร่วมวงด้วย!
หากประธานาธิบดีสี จิ้นผิง ของจีน เตรียมจะมากรุงเทพฯ และอินโดนีเซียในปลายปีนี้ตามที่เป็นข่าว ก็น่าจะเป็นความเคลื่อนไหวที่มีความสำคัญต่อภูมิรัฐศาสตร์และเกมการเมืองยักษ์ใหญ่ไม่น้อย
เมื่อลาฟรอฟเยือนเมียนมา
ใครจะต่อต้านรัฐบาลทหารพม่าเรื่องละเมิดสิทธิมนุษยชนหรือประหารชีวิตนักเคลื่อนไหวเรียกร้องประชาธิปไตยก็ดูเหมือนรัสเซียจะไม่สนใจ
สำหรับจีนและอเมริกา : ‘ชิป’ จากไต้หวันจะ ‘หาย’ ไม่ได้!
สัปดาห์ที่ผ่านมา ประธานาธิบดีสหรัฐฯ โจ ไบเดน ลงนามในกฎหมาย CHIPS and Science Act ซึ่งกลายเป็นอีกหนึ่งมิติของการแข่งขันแย่งชิงอิทธิพลระหว่างมหาอำนาจ
ความหมายใหม่ใน ‘สมุดปกขาว’ ปักกิ่งว่าด้วย ‘การรวมชาติ’ ไต้หวัน
“สมุดปกขาว” ว่าด้วยเรื่องไต้หวันที่ปักกิ่งเผยแพร่เมื่อสัปดาห์ที่ผ่านมาทำให้เห็นชัดเจนว่า สี จิ้นผิง ปรับยุทธศาสตร์ประเด็นนี้ครั้งสำคัญ
คนไต้หวันเห็นอย่างไร กับการมาเยือนของเพโลซี?
ถ้าอยากรู้ว่าคนไต้หวันคิดอย่างไรกับการมาเยือนของแนนซี เพโลซี ก็ต้องไปฟังเสียงจากการสำรวจของสื่อต่างๆ ที่ไปพูดคุยกับคนที่นั่น
อยากรู้เหตุที่จีนโกรธมะกัน เรื่องไต้หวันจริงๆ...อ่านตรงนี้
คนที่ติดตามเรื่องดุเดือดระหว่างจีนกับสหรัฐฯ กรณีแนนซี เพโลซี, ประธานสภาผู้แทนราษฎรสหรัฐฯ, เยือนไต้หวันอาจจะอยากรู้ว่าจริงๆ แล้วเหตุผลของปักกิ่งมีรายละเอียดอย่างไรกันแน่
เมื่อยักษ์ใหญ่ทะเลาะกัน ในเวทีเจรจาอาเซียน...
อาเซียนกำลังปวดหัวหลายเรื่อง ล่าสุดก็เรื่องไต้หวันที่จีนกับสหรัฐฯ ฟาดฟันกันอย่างดุเดือด และจีนซ้อมรบด้วยกระสุนจริงรอบๆ เกาะไต้หวัน
เมื่อเสือเฒ่า ‘มหาธีร์’ (วัย 97) ตั้งพันธมิตรการเมืองอีกครั้ง
สำหรับมหาธีร์ โมฮัมหมัด อดีตนายกฯ รัฐมนตรีและนักการเมืองอาวุโสสุดของประเทศมาเลเซียนั้นอายุเป็นเพียงตัวเลขจริงๆ
อ่านอารมณ์ร้อนแรงของจีน ผ่านการ์ตูนประกอบถ้อยแถลง
ถ้าจะวัดอารมณ์คนจีนจำนวนไม่น้อยต่อการมาเยือนไต้หวันของแนนซี เปโลซี ประธานสภาผู้แทนราษฎรสหรัฐฯ เมื่อสัปดาห์ก่อน ต้องดูการ์ตูนล้อการเมืองในสื่อของจีน
ทำไมแนนซี เพโลซี จึงเป็น‘ปีศาจร้าย’สำหรับจีน?
คนในโซเชียลมีเดียจีนเรียกเธอว่า “แม่มด” บ้าง “ตัวแสบ” บ้าง หรือ “อีนางร้าย” บ้าง
วันนี้ต่างกับ ‘วิกฤตต้มยำกุ้ง’ อย่างไร?
เมื่อวานผมนำเอาคำอธิบายแบบคุยกันง่ายๆ ของ ดร.เศรษฐพุฒิ สุทธิวาทนฤพุฒิ ผู้ว่าแบงก์ชาติที่พยายามชี้ถึงความเข้าใจผิดเกี่ยวกับ ‘ส่วนต่างดอกเบี้ย-ค่าเงิน-ทุนเคลื่อนย้าย-ทุนสำรอง’ กับนักข่าว
ส่วนต่างดอกเบี้ย-ค่าเงิน- ทุนเคลื่อนย้าย-ทุนสำรอง
นักวิเคราะห์บางท่านมองว่าถ้าไทยไม่ขึ้นดอกเบี้ยไล่ให้ทันกับของสหรัฐฯ เงินทุนจะไหลออก ค่าเงินอ่อน แบงก์ชาติต้องเข้ามาแทรกแซง ทำให้ทุนสำรองฯ ลดลงมาก ก็จะเกิดปัญหาตามมา