ป้ายกำกับ :
สุทธิชัย หยุ่น
ฉิน กัง, รมว.ต่างประเทศจีน, หายไปไหน?
กลายเป็นประเด็นคาดเดากันไปต่างๆ นานา เมื่อรัฐมนตรีคนสำคัญของจีนคนนี้ไม่ได้ปรากฏตัวต่อสาธารณชนเป็นเวลากว่า 3 สัปดาห์แล้ว
เมื่อจีนออกกฎหมายใหม่เป็น ‘อาวุธ’ ในศึกเวทีระหว่างประเทศ
จีนมีกฎหมายฉบับใหม่ว่าด้วย “ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ” ที่ให้ประธานาธิบดีสี จิ้นผิง มีอำนาจกว้างขวางขึ้นกว่าเดิมหลายด้านอันเกี่ยวกับต่างชาติ
หลังกรณี ‘กบฏวากเนอร์’ ปูตินจัดวางปริโกซินไว้ตรงไหน?
วันนี้ สงครามยูเครนเข้าสู่วันที่ 511 ท่ามกลางสัญญาณต่าง ๆ ที่ชี้ไปในทิศทางของการสู้รบที่หนักหน่วงขึ้นอย่างเห็นได้ชัด
มีใครรู้ไหมว่า ‘ปริโกซิน’ อยู่ไหน?
Yevgeny Prigozhin หัวหน้าใหญ่ของทหารรับจ้างวากเนอร์อยู่สบายดีหรือ? คำตอบคือไม่มีใครรู้ แม้แต่ข่าวกรองตะวันตกก็ยังยอมรับว่าไม่มีเบาะแสอะไรชัดเจน
ประเด็นร้อนเมื่อ รมว.ต่างประเทศ อาเซียนถกสถานการณ์อ่อนไหว
การประชุมรัฐมนตรีต่างประเทศอาเซียนที่เพิ่งเสร็จสิ้นลงไปที่อินโดนีเซีย มีเรื่องร้อนๆ หลายประเด็นที่ควรแก่การติดตามเพื่อปรับยุทธศาสตร์สำหรับประเทศไทย
มะกันกำลังสูญเสีย อิทธิพลในอาเซียนให้จีน
ระหว่างจีนกับสหรัฐฯ ใครถูกมองในแง่บวกและลบในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ผลสำรวจที่น่าสนใจบอกว่าสหรัฐฯ กำลังเสียเปรียบจีนในอาเซียน
หากเศรษฐกิจจีนชะลอตัว ไทยต้องตั้งรับอย่างไร?
เมื่อวานเราเห็นหลายปัจจัยที่อาจทำให้เศรษฐกิจจีนปีนี้และปีหน้าชะลอตัว นายกฯหลี่ เฉียงเพิ่งแสดงความมั่นใจว่ารัฐบาลจีนจะสามารถทำตามเป้าที่โต 5% ได้ แต่นักวิเคราะห์บางสำนักก็มองว่าอาจจะมี “ลมปะทะ” จากข้างหน้าที่ทำให้การบรรลุเป้าหมายนี้ค่อนข้างจะท้าทาย
เมื่อเศรษฐกิจจีนเจอลมปะทะ อัตราโตอาจชะลอตัวกว่าที่คาด
เมื่อวานเขียนถึงนายกฯหลี่ เฉียงของจีนที่ยืนยันว่าเศรษฐกิจของจีนน่าจะโตได้ร้อยละ 5 ในปีนี้แม้ว่าเขาพูดไว้ตอนรับตำแหน่งเมื่อเดือนมีนาคมว่า “เป็นภารกิจที่ท้าทาย”
อะไรคือ De-coupling และ De-risking ของตะวันตกที่จีนต่อต้าน?
ถ้าใครเสนอว่านโยบายของตะวันตกต่อจีนควรจะปรับจาก de-coupling เป็น de-risking ก็อย่าเพิ่งงง เพราะนักการเมืองระหว่างประเทศจำนวนไม่น้อยก็ยังพยายามทำความเข้าใจกับศัพท์แสงคำนี้อยู่
‘กบฏวากเนอร์’ ทำให้ปูติน กระชับอำนาจหรือสุ่มเสี่ยงมากขึ้น?
หลังกรณี “ปราบกบฏ” ที่รัสเซียผ่านมาได้กว่าสองสัปดาห์ สิ่งที่ต้องจับตาดูเป็นพิเศษคือความพยายามของประธานาธิบดีวลาดิเมียร์ ปูติน ที่จะทำให้คนในประเทศและสังคมโลกเห็นว่าเขายังสามารถควบคุมกลไกแห่งอำนาจรัฐไว้ได้อย่างเหนียวแน่น
เมื่ออาเซียนจะร่วมซ้อมทางทหาร เป็นครั้งแรกในทะเลจีนใต้
ข่าวอาเซียนเตรียมซ้อมทางทหารร่วมในทะเลจีนใต้เป็นครั้งแรก ภายใต้การประสานของอินโดนีเซียในฐานะประธานของกลุ่มในปีนี้ ย่อมก่อให้เกิดความสนใจอย่างกว้างขวาง
คนรุ่นใหม่จีนวันนี้: แข่งกันเรียนแข่งกันหางาน
เมื่อวานได้เขียนถึงการสอบเข้ามหาวิทยาลัยของเด็กจีน ที่ต้องแข่งขันกันอย่างเข้มข้น…จนทำให้ทั้งเด็กและผู้ปกครองต่างพากันเครียดไปตามๆ กัน
เด็กจีนแข่งสอบเข้ามหาวิทยาลัย ด้วยจำนวนสูงสุดหลังโควิด
เยาวชนจีนเพิ่งจะผ่านการแข่งสอบเข้ามหาวิทยาลัยที่เรียกว่า “เกาข่าว” (高考) ซึ่งมีการแข่งขันกันอย่างดุเดือดอย่างยิ่ง
ฮ่องกงตามไล่ล่านักเคลื่อนไหว ทั้งในบ้านและนอกบ้าน!
ฮ่องกงไม่เพียงปราบปรามผู้เรียกร้องประชาธิปไตยอย่างราบคาบเท่านั้น ล่าสุดยังตามไล่ล่าบรรดานักเคลื่อนไหวที่กระจายตัวอยู่ต่างประเทศด้วย
เมื่ออินเดียมอบเรือรบให้เวียดนาม... จีนก็ย่อมต้องสนใจเป็นพิเศษ
การบริหารจัดการยุทธศาสตร์ว่าด้วยภูมิรัฐศาสตร์ในย่านนี้มีความเปราะบาง ละเอียดอ่อน และสลับซับซ้อนที่น่าติดตามและศึกษาอย่างยิ่ง
ปูตินประกาศเสริมนิวเคลียร์ ให้หน่วยรบ...พร้อมรับมือ NATO!
วันนี้ สงครามยูเครนเข้าสู่วันที่ 496…และเป็นจังหวะที่ประธานาธิบดีปูตินของรัสเซียประกาศว่ากำลังเสริมกองทัพรัสเซียด้วยนิวเคลียร์อย่างจริงจัง
สัญญาณเตือนภัย: หนี้ครัวเรือนพุ่ง ยอดส่งออกติดลบต่อเนื่อง 8 เดือน
อาจจะดูเหมือนไม่ได้เกี่ยวโยงอะไรกัน แต่เมื่อ “หนี้ครัวเรือน” พุ่งไปที่ 90.6% ของ GDP ขณะที่ยอดส่งออกติดลบต่อเนื่องมา 8 เดือน
พอเกิด ‘กบฏวากเนอร์’ 2023 ก็ต้องย้อนดู ‘กบฏ 1991’
พอเกิดกรณี “กบฏวากเนอร์” เมื่อวันเสาร์ที่ 24 มิถุนายน 2023 ก็มีคนย้อนคิดถึง “กบฏปี 1991” กลางกรุงมอสโก
กรณีกบฏวากเนอร์จะกระทบ สงครามยูเครนอย่างไร?
หนึ่งในหลายๆ คำถามหลังกรณี “กบฏวากเนอร์” ที่รัสเซียคือเหตุการณ์น่าตื่นตะลึงครั้งนี้จะมีผลกระทบต่อสงครามยูเครนอย่างไร
ปูติน-ปริโกซิน-ลูกาเชนโก: ปฏิบัติการ ‘ลับ-ลวง-พราง’ 3 เส้า
อย่าเพิ่งนึกว่าผลพวงจาก “กบฏวากเนอร์” ที่รัสเซียจะปิดฉากง่าย ๆ เพียงเพราะส่งหัวหน้าทหารรับจ้างไป “ลี้ภัย” ที่เบลารุส