ป้ายกำกับ :
ยังไม่ตายก็อยู่กันไป
เว้นวรรครัฐประหาร (ตอนที่ ๒)
หากมองในภาพรวมแล้ว จะพบแนวโน้มที่รัฐประหารไทยจะลดน้อยลงดังที่ได้แสดงให้เห็นไปตอนที่แล้ง และเมื่อพิจารณาช่วงระยะเวลาที่ปลอดรัฐประหารในการเมืองไทย
ในแผ่นดินพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว (ตอนที่ ๖)
เบนจามิน บัตสัน นักวิชาการตะวันตกเชื่อว่า เอกสารเรื่อง “Democracy in Siam” เป็นพระราชบันทึกของพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวที่ทรงพระราชทาน
เว้นวรรครัฐประหาร (ตอนที่ ๑)
อย่างที่เคยเขียนไปในที่ต่างๆว่า ประเทศไทยเรา มีการทำรัฐประหารติดอันดับโลก โดยในศตวรรษที่ยี่สิบ เรามาเป็นอันดับสอง
ในแผ่นดินพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว (ตอนที่ ๕)
ต่อจากคำถามเกี่ยวกับกฎการสืบราชสันตติวงศ์ที่พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงมีพระราชหัตถเลขาในภาษาอังกฤษภายใต้หัวข้อ “The Problems of Siam”
45 ปี 6 ตุลาฯ: แนวโน้มการครองอำนาจยาวนานของผู้นำทางการเมืองในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ในช่วงระหว่างและหลังสงครามเย็น ลี กวน ยู นายกรัฐมนตรีสิงคโปร์ (ตอนจบ)
ตอนที่แล้วได้เล่าถึงความสำเร็จอันยิ่งใหญ่ของ ลีกวนยู ในการเป็นนายกรัฐมนตรีสิงคโปร์ต่อเนื่องเป็นเวลาถึง 31 ปี (พ.ศ. 2502 – พ.ศ. 2533)
ในแผ่นดินพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว (ตอนที่ ๔)
นอกจากฟรานซิส บี. แซร์ (พระยากัลป์ยาณไมตรี) ที่ปรึกษาด้านการต่างประเทศจะตอบคำถามและให้คำแนะนำต่อพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว
45 ปี 6 ตุลาฯ: แนวโน้มการครองอำนาจยาวนานของผู้นำทางการเมืองในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ในช่วงระหว่างและหลังสงครามเย็น
ลี กวน ยู เป็นอีกหนึ่งผู้นำทางการเมืองในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ที่ครองอำนาจยาวนานต่อเนื่องกันเป็นเวลา 31 ปี (พ.ศ. 2502 – พ.ศ. 2533) แต่เงื่อนไขของสิงคโปร์แตกต่างจากพม่า ลาว กัมพูชาและเวียดนาม
ในแผ่นดินพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว (ตอนที่ ๓)
ในเดือนกรกฎาคม พ.ศ. 2469 พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงปรึกษาฟรานซิส บี. แซร์ (Francis B. Sayre/ พระยากัลยาณไมตรี) ที่ปรึกษาด้านการต่างประเทศเกี่ยวกับเกณฑ์ในการได้มาซึ่งผู้สืบราชสันตติวงศ์ แซร์ได้ถวายคำแนะนำ
45 ปี 6 ตุลาฯ: แนวโน้มการครองอำนาจยาวนานของผู้นำทางการเมืองในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ในช่วงระหว่างและหลังสงครามเย็น
ในตอนที่แล้ว ได้กล่าวถึงนายทหารรุ่นหนุ่มหรือ “ยังเติร์กพม่า” ที่มีบทบาทสำคัญในการปฏิรูปประเทศตั้งแต่นายพลเนวินจัดตั้งรัฐบาลรักษาการขึ้นในปลายปี พ.ศ. 2501
45 ปี 6 ตุลาฯ : แนวโน้มการครองอำนาจยาวนานของผู้นำทางการเมืองในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ในช่วงระหว่างและหลังสงครามเย็น
แม้ว่าการเมืองพม่าจะตกอยู่ภายใต้รัฐบาลทหารที่มีนายพลเนวินเป็นผู้นำต่อเนื่องเป็นเวลาถึง 26 ปี แต่การครองอำนาจยาวนานของนายพลเนวินไม่ได้เริ่มต้นเมื่อเขาได้เป็นนายกรัฐมนตรีครั้งแรกในปลายปี พ.ศ. 2501 เพราะในการขึ้นสู่อำนาจครั้งนั้นเกิดขึ้นจากการที่นายอู นุ ลาออกและเชิญ
ในแผ่นดินพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว (ตอนที่ ๑)
แปดเดือนหลังเสด็จขึ้นครองราชย์ พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงให้ความสนใจอย่างยิ่งต่อประเด็นปัญหาเรื่องรูปแบบการปกครองของสยาม โดยวันที่ ๒๓ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๔๖๙
45 ปี 6 ตุลาฯ: แนวโน้มการครองอำนาจยาวนานของผู้นำทางการเมืองในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ในช่วงระหว่างและหลังสงครามเย็น
ในปลายปี พ.ศ. 2501 พม่าปกครองโดยรัฐบาลทหารรักษาการภายใต้นายพลเนวินที่ขึ้นสู่อำนาจผ่านการลงมติของสภาโดยการเสนอชื่อของ อู นุ ผู้ซึ่งลาออกจากตำแหน่งนายกรัฐมนตรีและเสนอชื่อนายพลเนวินต่อสภา