ป้ายกำกับ :
ยังไม่ตายก็อยู่กันไป
๑๔ ตุลาฯ ที่เกิดขึ้นก่อน ๑๔ ตุลาฯ (ตอนที่ ๕)
คณะกู้บ้านกู้เมือง (กบฏบวรเดช) ได้ยื่นข้อเรียกร้อง ๖ ข้อต่อรัฐบาลพันเอก พระยาพหลพลพยุหเสนา หนึ่งในนั้นคือ ต้องการให้รัฐบาล “ต้องจัดการทุกอย่างที่จะอำนวยผลให้ประเทศสยามมีพระมหากษัตริย์ปกครองภายใต้รัฐธรรมนูญชั่วกัลปวสาน”
๑๔ ตุลาฯ ที่เกิดขึ้นก่อน ๑๔ ตุลาฯ (ตอนที่ ๔)
ข้อเรียกร้องประการหนึ่งของการก่อการของคณะกู้บ้านกู้เมือง (กบฏบวรเดช) คือ การต้องการรักษาระบอบการปกครองพระมหากษัตริย์ภายใต้รัฐธรรมไว้
๑๔ ตุลาฯ ที่เกิดขึ้นก่อน ๑๔ ตุลาฯ (ตอนที่ ๓)
สาเหตุที่คณะกู้บ้านกู้เมือง (หลังพ่ายแพ้ จึงถูกเรียกว่า กบฏบวรเดช) เรียกร้องให้รัฐบาลพันเอก พระยาพหลพลพยุหเสนา “ต้องจัดการทุกอย่างที่จะอำนวยผลให้ประเทศสยามมีพระมหากษัตริย์ปกครองภายใต้รัฐธรรมนูญชั่วกัลปวสาน”
๑๔ ตุลาฯ ที่เกิดขึ้นก่อน ๑๔ ตุลาฯ (ตอนที่ ๒)
๑๔ ตุลาคม พ.ศ. ๒๔๗๖ เป็นวันที่เกิดการต่อสู้กันระหว่างรัฐบาลพันเอก พระยาพหลพลพยุหเสนา กับคณะกู้บ้านกู้เมือง ที่ต่อมาเป็นฝ่ายพ่ายแพ้และถูกเรียกว่า “กบฏบวรเดช”
๑๔ ตุลาฯ ที่เกิดขึ้นก่อน ๑๔ ตุลาฯ (ตอนที่ ๑)
เวลาเอ่ยถึงเหตุการณ์ ๑๔ ตุลาฯ คนส่วนใหญ่มักจะนึกถึงเหตุการณ์ ๑๔ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๑๖ แต่ในประวัติศาสตร์การเมืองไทย จะมีเหตุการณ์สำคัญทางการเมืองที่เกิดขึ้นในวันที่ 14 ตุลาคมเช่นกัน
ในแผ่นดินพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว (ตอนที่ ๑๔)
จากการสัมภาษณ์พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว นายแฮโรลด์ เอน. เดนนี (Harold N. Denny) ได้เขียนบทความเรื่อง
เว้นวรรครัฐประหาร (ตอนที่ ๙): การเปลี่ยนแปลงเงื่อนไขการยุบสภาเมื่อใกล้ครบวาระของอังกฤษ
อย่างที่ทราบกันว่า อังกฤษเป็นต้นแบบการปกครองแบบรัฐสภาของโลก ถึงขนาดเรียกการปกครองระบอบรัฐสภาของอังกฤษว่า ตัวแบบเวสต์มินสเตอร์ (Westminster model) ผู้เขียนได้เคยเล่าประวัติความเป็นของการเกิดสภา
ในแผ่นดินพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว (ตอนที่ ๑๓)
พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงมีพระราชดำริที่จะจัดตั้งองค์กรที่เป็นทำหน้าที่คล้ายสภาของอังกฤษ นั่นคือ
เว้นวรรครัฐประหาร (ตอนที่ ๘)
ก่อนที่จะเรียกร้องให้มีหรือไม่มีการยุบสภา ควรเข้าใจถึงเป้าหมาย หลักการและเหตุผลในการยุบสภา ซึ่งการยุบสภาเกิดขึ้นได้เฉพาะในระบอบการปกครองแบบรัฐสภาเท่านั้น ในระบอบประธานาธิบดีแบบสหรัฐอเมริกา ไม่มีการยุบสภา
ในแผ่นดินพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว (ตอนที่ ๑๒)
คราวที่แล้ว ผู้เขียนได้กล่าวไว้ว่า เป็นประเด็นที่น่าศึกษาอย่างยิ่งที่พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าฯในฐานะพระมหากษัตริย์พระองค์ที่เจ็ดในราชวงศ์จักรี
เว้นวรรครัฐประหาร (ตอนที่ ๗)
เมื่อพิจารณาจากประวัติศาสตร์จะพบว่า อำนาจในการยุบสภาสามารถย้อนกลับไปในสมัยยุคกลางของอังกฤษที่สภาในสมัยนั้นคือ “มหาสภา” (great councils of the ‘estates of the realm)
ในแผ่นดินพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว (ตอนที่ ๑๑)
ถ้าใครอยากทราบว่า พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงมีพระราชดำริในการเตรียมตัวสู่ประชาธิปไตยอย่างไร สามารถอ่านได้จาก
เว้นวรรครัฐประหาร (ตอนที่ ๖)
ก่อนรัฐประหาร ๑๙ กันยายน พ.ศ. ๒๕๔๙ ได้เกิดข้อถกเถียงว่า นายกรัฐมนตรีรักษาการลาออกจากตำแหน่งรักษาการได้หรือไม่ ?
ในแผ่นดินพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว (ตอนที่ ๑๐)
ในตอนก่อน ผู้เขียนได้เริ่มสรุปความจาก “Democracy in Siam” อันเป็นพระราชบันทึกของพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวที่ทรงพระราชทานไปยังคณะองคมนตรี
เว้นวรรครัฐประหาร (ตอนที่ ๕)
ก่อนเกิดรัฐประหาร ๑๙ กันยายน พ.ศ. ๒๕๔๙ ได้เกิดปรากฏการณ์ความขัดแย้งทางการเมืองที่ดูจะเป็นวิกฤตการเมืองที่ไม่เคยเกิดขึ้นมาก่อน
ในแผ่นดินพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว (ตอนที่ ๙)
ในตอนก่อน ผู้เขียนได้เริ่มสรุปความจาก “Democracy in Siam” อันเป็นพระราชบันทึกของพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวที่ทรงพระราชทาน
เว้นวรรครัฐประหาร (ตอนที่ ๔)
หลังเหตุการณ์พฤษภาทมิฬ พ.ศ. ๒๕๓๕ การเมืองไทยเว้นว่างรัฐประหารเป็นเวลา ๑๔ ปี และเป็นช่วงเวลาที่นายกรัฐมนตรีมาจากสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร
ในแผ่นดินพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว (ตอนที่ ๘)
“Democracy in Siam” เป็นพระราชบันทึกของพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวที่ทรงพระราชทานไปยังคณะองคมนตรี
เว้นวรรครัฐประหาร (ตอนที่ ๓)
ตอนที่แล้ว ได้กล่าวสาเหตุที่การเมืองไทยในช่วงระหว่าง พ.ศ. ๒๕๐๑-๒๕๑๔ ปลอดรัฐประหารเพราะฝ่ายที่มีศักยภาพในการทำรัฐประหารเป็นผู้ครองอำนาจเอง
ในแผ่นดินพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว (ตอนที่ ๗)
“Democracy in Siam” เป็นพระราชบันทึกของพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวที่ทรงพระราชทานไปยังคณะองคมนตรี