ป้ายกำกับ :
ครองขวัญ รอดหมวน
“วีซ่าฟรีรัสเซีย”หนุนท่องเที่ยว
“ท่องเที่ยว” ถือเป็นเครื่องยนต์สำคัญในการขับเคลื่อนการเติบโตของเศรษฐกิจไทย โดยหลังจากที่สถานการณ์โควิด-19 คลี่คลาย รัฐบาลได้เร่งเดินหน้าในการฟื้นความเชื่อมั่น และปลุกภาคการท่องเที่ยวให้กลับมามีบทบาทสำคัญอีกครั้ง
ห่วง“มาตรการกระตุ้นศก.”ได้ไม่คุ้มเสีย!
“รัฐบาลใหม่” คือความหวังของการกระตุ้นและฟื้นฟูเศรษฐกิจที่ถูกกระทบอย่างหนักตั้งแต่สถานการณ์โควิด-19 เรื่อยมาก ตลอดจนผลกระทบจากการชะลอตัวของเศรษฐกิจโลก ที่ส่งผลกับภาคส่งออก
เทรนด์ธุรกิจตอบโจทย์ตลาดสูงวัย
ประเทศไทยกำลังก้าวเข้าสู่การเป็นสังคมผู้สูงอายุอย่างเต็มรูปแบบ ขณะที่หลายหน่วยงานทั้งภาครัฐและเอกชนต่างให้ความสำคัญกับประเด็นนี้ เพราะในมุมของภาครัฐถือเป็นอีกประเด็นใหญ่สำหรับภาระงบประมาณที่จะต้องจัดสรรมาเพื่อดูแลสวัสดิการสำหรับประชากรกลุ่มนี้
'อสังหาฯไทย'ยังเผชิญปัจจัยท้าทาย
ศูนย์ข้อมูลอสังหาริมทรัพย์ (REIC) ได้เปิดเผยข้อมูลว่า ภาคอสังหาริมทรัพย์ไทยใน 2 ไตรมาสแรกของปี 2566 ยังคงอยู่กับปัจจัยลบด้านต่างๆ ทั้งการฟื้นตัวของเศรษฐกิจที่ยังไม่เต็มที่
ลุ้น“ธุรกิจค้าปลีก”โตต่อเนื่อง
หลังจากสถานการณ์โควิด-19 คลี่คลายลงจนเริ่มมีการเปิดประเทศ เปิดเมือง ส่งผลให้กิจกรรมทางเศรษฐกิจค่อยๆ ฟื้นตัวขึ้นอย่างต่อเนื่อง การจับจ่ายใช้สอยของประชาชนเริ่มกลับมาคึกคัก แม้ว่าจะมีประเด็นกดดันต่างๆ
ศก.ไทยครึ่งปีหลังโตฝ่ามรสุม
กระทรวงการคลังได้ปรับลดคาดการณ์ตัวเลขเศรษฐกิจไทย (จีดีพี) ในปี 2566 ลงเหลือ 3.5% จากคาดการณ์เดิมที่ 3.6% โดยให้เหตุผลว่า หลักๆ เป็นผลมาจากโครงสร้างนักท่องเที่ยวที่เปลี่ยนแปลงไป
ศก.ไทยชะลอแม้ท่องเที่ยวฟื้น
หลังสถานการณ์โควิด-19 คลี่คลาย กิจกรรมทางเศรษฐกิจเริ่มกลับมาใกล้เคียงปกติอย่างมาก การบริโภคและการลงทุนต่างๆ เริ่มฟื้นตัวดี ขณะที่ภาคการท่องเที่ยวซึ่งถือเป็นเครื่องยนต์สำคัญในการช่วยกระตุ้นการเติบโตของเศรษฐกิจไทยก็กลับมาฟื้นตัวได้อย่างต่อเนื่องอีกครั้ง
ส่งออกเตรียมรับมือ“ตลาดจีน”แผ่ว
สถานการณ์ใน “ภาคส่งออก” ของไทยยังถือว่าอยู่ในจุดที่ชะลอตัว โดยข้อมูลจากกระทรวงพาณิชย์พบว่า การส่งออกไทยในเดือน พ.ค.2566 ยังติดลบที่ 4.6% ชะลอตัวต่อเนื่องเป็นเดือนที่ 8 และสินค้าเกษตรหดตัวสูงถึง 27% เช่น ผลไม้สดแช่เย็น แช่แข็ง ขณะที่สินค้าอุตสาหกรรมก็ยังหดตัวที่ 0.6% เช่นเดียวกัน
จับตา“เศรษฐกิจโลกครึ่งปีหลัง”
เศรษฐกิจไทยในปี 2566 มีหลายปัจจัยที่เป็นตัวขับเคลื่อน อาทิ การฟื้นตัวของภาคการท่องเที่ยว การบริโภคภาคเอกชน เป็นต้น
ความเสี่ยงธุรกิจครัวเรือนไทยยุคดิจิทัล
ปัจจุบัน เรื่อง “เทคโนโลยีดิจิทัล” ถือเป็นอีกหนึ่งอาวุธสำคัญ ไม่ว่าจะสำหรับภาคธุรกิจหรือภาคครัวเรือน ถือเป็นเครื่องมือสำคัญในการสร้างมูลค่าเพิ่มได้ในทุกมิติ แต่ต้องยอมรับว่าเรื่องดังกล่าวในประเทศไทยยังอาจจะอยู่ในระดับต่ำ หรืออาจจะยังไม่ถูกพัฒนาให้เติบโตเท่าทันยุคสมัยมากเพียงพอ
ปี66ส่งออกอาหารสัตว์เลี้ยงเหนื่อย!
เทรนด์การดูแลสัตว์เลี้ยงในปัจจุบันที่มีรูปแบบการดูแลเสมือนคนในครอบครัว (Pet Humanization) มีอัตราเพิ่มสูงขึ้นอย่างต่อเนื่อง
'รัฐบาลใหม่'กับการใช้จ่ายงบ
การเลือกตั้งปี 2566 ใกล้เข้ามาทุกขณะ พรรคการเมืองต่างขับเคี่ยวหาเสียงผ่านนโยบายต่างๆ ซึ่งมีการประเมินว่ากว่า
“สังคมสูงวัย”โจทย์ใหญ่มาไวกว่าเดิม!
ประเทศไทยก้าวสู่สังคมผู้สูงอายุโดยสมบูรณ์ (Aged Society) โดยมีประชากรอายุ 60 ปีขึ้นไปมากกว่า 20% ของประชากรทั้งประเทศ
“ตลาดรถยนต์ไทย”ช่วงเปลี่ยนผ่าน
ประเทศไทย ถือเป็นฐานการผลิตรถยนต์ที่สำคัญแห่งหนึ่งของโลก ซึ่งในช่วงที่ผ่านมาตลาดรถยนต์ทั้งในและต่างประเทศก็เริ่มมีทิศทางการฟื้นตัวที่ดีขึ้นอย่างต่อเนื่อง โดย “สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย
“ธุรกิจขนส่งพัสดุ”ยังโตแรง
“โควิด-19” ถือเป็นอีกปัจจัยที่ทำให้พฤติกรรมของผู้บริโภคในปัจจุบันเปลี่ยนแปลงไป นอกเหนือจากเทคโนโลยีในทุกมิติ
ตลาด“CLMV”โตสวนศก.โลก
เศรษฐกิจไทยในปีนี้ได้รับแรงขับเคลื่อนที่ดีจาก “ภาคการท่องเที่ยว” ซึ่งหลายฝ่ายมองว่าจะฟื้นตัวได้ดีกว่าคาดการณ์ ขณะเดียวกันการบริโภคภายในประเทศก็เป็นไปได้อย่างต่อเนื่อง ส่วนหนึ่งเป็นผลมาจากมาตรการกระตุ้นจากภาครัฐ โดยเฉพาะช็อปดีมีคืน ส่วน “ภาคการส่งออก”
“ธุรกิจบริการดิจิทัล”โตร้อนแรง!
“ธุรกิจบริการดิจิทัล (Digital Services)” เข้ามามีบทบาทในชีวิตประจำวันของผู้คน และเป็นขั้นตอนกระบวนการสำคัญของภาคธุรกิจมากขึ้นอย่างชัดเจน
การฟื้นตัวของธุรกิจหลัง“โควิด”
หลังสถานการณ์โควิด-19 เริ่มคลี่คลาย กิจกรรมทางเศรษฐกิจก็เริ่มกลับมามีชีวิตชีวาอีกครั้ง ภาคธุรกิจกลับมาฟื้นตัวได้ดีขึ้น
ส่องธุรกิจFood Deliveryปี66
ต้องยอมรับว่า ช่วง 2 ปีที่ผ่านมาในช่วงสถานการณ์การระบาดของโควิด-19 ได้ส่งผลให้ “ธุรกิจจัดส่งอาหารไปยังที่พัก (Food Delivery
จับตา“แนวโน้มรายได้เกษตรปี66”
จากสถานการณ์โควิด-19 ที่เริ่มคลี่คลายลง ได้ส่งผลดีกับกิจกรรมทางเศรษฐกิจ หลายส่วนมีรายได้เพิ่มขึ้น