ป้ายกำกับ :
ครองขวัญ รอดหมวน
Gen AI ความท้าทายยุคใหม่
การก้าวตามเทคโนโลยีใหม่อย่าง Generative AI ที่มีการพัฒนาอย่างรวดเร็วอาจเป็นเรื่องที่ท้าทายและน่ากลัว โดยไม่มีใครรู้เลยว่าบริษัทที่ใช้แนวทาง “รอดูไปก่อน” จะถูกทิ้งไว้ข้างหลังในขณะที่ระบบดิจิทัลเติบโตขึ้นอย่างรวดเร็วในช่วงเริ่มต้นของโควิด-19
'หนี้ครัวเรือน'แนวโน้มชะลอแต่สัดส่วนยังสูง
“หนี้ครัวเรือน” เป็นประเด็นที่หลายฝ่ายจับตา โดยจากข้อมูลของสำนักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ (สศช.) หรือสภาพัฒน์ ที่ระบุว่า ภาพรวมหนี้ครัวเรือนไทย ไตรมาส 3/2566 อยู่ที่ 16.2 ล้านล้านบาท
จับชีพจร“ท่องเที่ยวไทย”เริ่มฟื้นตัว
“ท่องเที่ยว” ถือเป็นอีกหนึ่งอุตสาหกรรมสำคัญในการขับเคลื่อนและกระตุ้นการขยายตัวของเศรษฐกิจ เรียกได้ว่าเป็นอุตสาหกรรมหลักๆ ที่สร้างรายได้มหาศาลให้ประเทศตลอดช่วงที่ผ่านมา
“ตลาดที่อยู่อาศัยกทม.-ปริมณฑล”ยังเหนื่อย!
“ธุรกิจอสังหาริมทรัพย์” ในปี 2567 อาจจะเป็นปีที่น่าจับตามองและมีความท้าทายอยู่ไม่น้อย ด้วยปัจจัยหลากหลายมิติ ทั้งสนับสนุนและกดดัน ซึ่งมีผลต่อการทำธุรกิจ อาทิ ทิศทางอัตราดอกเบี้ย
“ส่งออกข้าวไทยปี67”เสี่ยงโคม่า
เป็นอีกหนึ่งประเด็นที่น่าสนใจ นั่นคือ “สถานการณ์การส่งออกข้าวไทย” ที่ในปี 2567 นี้ มีการคาดการณ์การส่งออกข้าวไทย อยู่ที่ปริมาณ 7.5 ล้านตัน และไทยยังรั้งอันดับ 2 ของโลกในการเป็นผู้ส่งออกข้าว โดยปริมาณ 7.5 ล้านตันดังกล่าวนั้น
“จีนเที่ยวไทย”ลุ้นแซงโควิดยังเหนื่อย
“ภาคการท่องเที่ยว” ยังถือเป็นอีกหนึ่งเครื่องมือสำคัญในการช่วยขับเคลื่อนการเติบโตของเศรษฐกิจประเทศไทย โดยหลังจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโควิด-19 คลี่คลาย ภาคการท่องเที่ยวและบริการของไทยที่ซบเซาก็กลับมามีชีวิตชีวาขึ้นอีกครั้ง และสำหรับในปี 2567
ห่วง“แรงงานภาคเกษตรไทย”หาย!
ประเทศไทยกำลังเผชิญกับ “ปัญหาการขาดแคลนแรงงาน” ในหลายอุตสาหกรรม ส่วนหนึ่งเป็นผลกระทบที่ชัดเจนจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโควิด-19 ที่ทำให้แรงงานส่วนใหญ่ต้องกลับภูมิลำเนา
ลุ้น'ส่งออกไทยปี67'ฟื้นตัว
“ภาคการส่งออก” ถือเป็นอีกหนึ่งเครื่องยนต์ในการช่วยขับเคลื่อนเศรษฐกิจไทย แต่ในช่วงปี 2566 ที่ผ่านมา ดูเหมือนจะเจอสถานการณ์กดดันที่ทำให้ภาคการส่งออกไม่สามารถเติบโตได้อย่างเต็มศักยภาพ
“ธุรกิจสถานีชาร์จอีวี”เตรียมบูม
ต้องยอมรับว่า “ตลาดรถอีวี” ในประเทศไทยเติบโตอย่างเห็นได้ชัด อย่างล่าสุดยอดจองรถในงาน Moter Expo 2023 รวมทั้งสิ้นกว่า 4.47 หมื่นคัน และปฏิเสธไม่ได้เลยว่าในจำนวนนี้มียอดจองรถยนต์ไฟฟ้า (อีวี) ที่มีสัดส่วนเพิ่มขึ้นเป็น 38% จากปีก่อนอยู่ที่ราว 14% เท่านั้น เรียกว่าเป็นการเติบโตชัดเจน
จับตาสถานการณ์“เอลนีโญ”ปี67
ช่วงที่ผ่านมา หลายฝ่ายต่างจับตาถึงสถานการณ์เอลนีโญว่าอาจมีความรุนแรง ยาวนาน และสร้างความเสียหายให้กับหลายภาคส่วน โดยเฉพาะภาคเกษตร กับสถานการณ์การขาดแคลนน้ำ
ศก.จีนแผ่วฉุดส่งออกมัน-ข้าวไทย
“จีน” ถือเป็นอีกหนึ่งประเทศคู่ค้าสำคัญของไทยที่มีการส่งออกสินค้าเป็นจำนวนมาก และมีมูลค่าการส่งออกมหาศาล ทั้งสินค้าอุตสาหกรรมและสินค้าเกษตรกรรม โดยเฉพาะข้าวและมันสำปะหลัง แต่ที่น่าสนใจคือ ตั้งแต่หลังสถานการณ์โควิด-19 เป็นต้นมา
“วีซ่าฟรีรัสเซีย”หนุนท่องเที่ยว
“ท่องเที่ยว” ถือเป็นเครื่องยนต์สำคัญในการขับเคลื่อนการเติบโตของเศรษฐกิจไทย โดยหลังจากที่สถานการณ์โควิด-19 คลี่คลาย รัฐบาลได้เร่งเดินหน้าในการฟื้นความเชื่อมั่น และปลุกภาคการท่องเที่ยวให้กลับมามีบทบาทสำคัญอีกครั้ง
ห่วง“มาตรการกระตุ้นศก.”ได้ไม่คุ้มเสีย!
“รัฐบาลใหม่” คือความหวังของการกระตุ้นและฟื้นฟูเศรษฐกิจที่ถูกกระทบอย่างหนักตั้งแต่สถานการณ์โควิด-19 เรื่อยมาก ตลอดจนผลกระทบจากการชะลอตัวของเศรษฐกิจโลก ที่ส่งผลกับภาคส่งออก
เทรนด์ธุรกิจตอบโจทย์ตลาดสูงวัย
ประเทศไทยกำลังก้าวเข้าสู่การเป็นสังคมผู้สูงอายุอย่างเต็มรูปแบบ ขณะที่หลายหน่วยงานทั้งภาครัฐและเอกชนต่างให้ความสำคัญกับประเด็นนี้ เพราะในมุมของภาครัฐถือเป็นอีกประเด็นใหญ่สำหรับภาระงบประมาณที่จะต้องจัดสรรมาเพื่อดูแลสวัสดิการสำหรับประชากรกลุ่มนี้
'อสังหาฯไทย'ยังเผชิญปัจจัยท้าทาย
ศูนย์ข้อมูลอสังหาริมทรัพย์ (REIC) ได้เปิดเผยข้อมูลว่า ภาคอสังหาริมทรัพย์ไทยใน 2 ไตรมาสแรกของปี 2566 ยังคงอยู่กับปัจจัยลบด้านต่างๆ ทั้งการฟื้นตัวของเศรษฐกิจที่ยังไม่เต็มที่
ลุ้น“ธุรกิจค้าปลีก”โตต่อเนื่อง
หลังจากสถานการณ์โควิด-19 คลี่คลายลงจนเริ่มมีการเปิดประเทศ เปิดเมือง ส่งผลให้กิจกรรมทางเศรษฐกิจค่อยๆ ฟื้นตัวขึ้นอย่างต่อเนื่อง การจับจ่ายใช้สอยของประชาชนเริ่มกลับมาคึกคัก แม้ว่าจะมีประเด็นกดดันต่างๆ
ศก.ไทยครึ่งปีหลังโตฝ่ามรสุม
กระทรวงการคลังได้ปรับลดคาดการณ์ตัวเลขเศรษฐกิจไทย (จีดีพี) ในปี 2566 ลงเหลือ 3.5% จากคาดการณ์เดิมที่ 3.6% โดยให้เหตุผลว่า หลักๆ เป็นผลมาจากโครงสร้างนักท่องเที่ยวที่เปลี่ยนแปลงไป
ศก.ไทยชะลอแม้ท่องเที่ยวฟื้น
หลังสถานการณ์โควิด-19 คลี่คลาย กิจกรรมทางเศรษฐกิจเริ่มกลับมาใกล้เคียงปกติอย่างมาก การบริโภคและการลงทุนต่างๆ เริ่มฟื้นตัวดี ขณะที่ภาคการท่องเที่ยวซึ่งถือเป็นเครื่องยนต์สำคัญในการช่วยกระตุ้นการเติบโตของเศรษฐกิจไทยก็กลับมาฟื้นตัวได้อย่างต่อเนื่องอีกครั้ง
ส่งออกเตรียมรับมือ“ตลาดจีน”แผ่ว
สถานการณ์ใน “ภาคส่งออก” ของไทยยังถือว่าอยู่ในจุดที่ชะลอตัว โดยข้อมูลจากกระทรวงพาณิชย์พบว่า การส่งออกไทยในเดือน พ.ค.2566 ยังติดลบที่ 4.6% ชะลอตัวต่อเนื่องเป็นเดือนที่ 8 และสินค้าเกษตรหดตัวสูงถึง 27% เช่น ผลไม้สดแช่เย็น แช่แข็ง ขณะที่สินค้าอุตสาหกรรมก็ยังหดตัวที่ 0.6% เช่นเดียวกัน
จับตา“เศรษฐกิจโลกครึ่งปีหลัง”
เศรษฐกิจไทยในปี 2566 มีหลายปัจจัยที่เป็นตัวขับเคลื่อน อาทิ การฟื้นตัวของภาคการท่องเที่ยว การบริโภคภาคเอกชน เป็นต้น