ว่าด้วยผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ตามประเพณีการปกครองของอังกฤษ (ตอนที่ ๓)
ประเพณีการปกครองในการแต่งตั้งผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ในอังกฤษเพิ่งเริ่มมีความชัดเจนในศตวรรษที่ยี่สิบ เริ่มต้นจากปี ค.ศ. ๑๙๑๑ ก่อนที่สมเด็จพระเจ้าจอร์จที่ห้าจะทรงเสด็จเยือนอินเดีย พระองค์ได้ทรงแต่งตั้งสภาผู้สำเร็จราชการแผ่นดินด้วยเหตุผลที่ว่าพระองค์จะมิทรงประทับอยู่ในราชอาณาจักร และจากกรณีการแต่งตั้งสภาผู้สำเร็จราชการแผ่นดินในปี ค.ศ. ๑๙๑๑ นี้เองจึงเป็นที่มาของแบบแผนปฏิบัติในเวลาต่อมา นั่นคือ ในปี ค.ศ. ๑๙๒๕
ว่าด้วยผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ตามประเพณีการปกครองของอังกฤษ (ตอนที่ ๒)
ผู้ที่เป็นนักกฎหมายที่เคร่งครัดในหลักการทฤษฎีย่อมต้องตั้งข้อสงสัยต่อความชอบธรรมของกระบวนการแก้ไขวิกฤตดังกล่าว นั่นคือ คณะรัฐมนตรีและรัฐสภาใช้อำนาจแทนพระราชอำนาจขององค์พระมหากษัตริย์ได้อย่างไร ? ส่วนฝ่ายที่เน้นผลสัมฤทธิ์ย่อมอธิบายว่า ย่อมทำได้เพื่อหาทางออกเมื่อสถานการณ์จำเป็น !
ว่าด้วยผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ตามประเพณีการปกครองของอังกฤษ (ตอนที่ ๑)
สถาบันพระมหากษัตริย์ของอังกฤษมีพระราชภารกิจต่างๆตามกฎหมาย (legal duties) ที่ต้องปฏิบัติ รวมทั้งการปฏิบัติพระราชภารกิจในพระราชพิธีต่างๆ (ceremonial) และการเป็นตัวแทนของประเทศในตำแหน่งประมุขของรัฐ ซึ่งในกรณีของการเป็นตัวแทน
วิเคราะห์การตัดสินยุบพรรคอนาคตใหม่จากมุมมองทางรัฐศาสตร์ ? (ตอนสุดท้าย)
ถ้ากฎหมายไทยมีช่องโหว่ทำให้ต้องตีความว่าพรรคการเมืองสามารถกู้เงินหัวหน้าพรรคได้เป็นจำนวนไม่จำกัด ก็ต้องมีการแก้ไขอุดช่องโหว่เหมือนในกรณีพรรคแรงงานในสหาราชอาณาจักรกู้เงินจากปัจเจกบุคคลและเกิดกรณีฉาวโฉ่ว่า พรรคมีพันธะที่จะต้องเสนอชื่อบุคคลที่เป็นเจ้าหนี้ให้ได้รับการแต่งตั้งเป็นสมาชิกสภาขุนนาง ซึ่งต่อมา รัฐสภาได้ออกกฎหมายมาควบคุมปิดช่องโหว่เกี่ยวกับการเงินของพรรคการเมือง
วิเคราะห์การตัดสินยุบพรรคอนาคตใหม่จากมุมมองทางรัฐศาสตร์ ? (ตอนที่แปด)
การแก้ปัญหาความไม่สุจริตทางการเงินและการรวมศูนย์อำนาจภายในพรรคการเมืองก็คงไม่ต่างจากการแก้ปัญหาทุจริตในการเลือกตั้ง นั่นคือ จะต้องมีการแก้ไขปรับปรุงกฎหมายให้มีประสิทธิภาพและเท่าทันต่อพฤติกรรมการฉ้อฉลของนักการเมืองอยู่ตลอดเวลา อย่างเช่นในเรื่องการทุจริตซื้อเสียงเลือกตั้ง มีนักการเมืองไทยจำนวนไม่น้อยให้ความเห็นว่า การซื้อขายเสียงในการเลือกตั้งของไทยเรานั้นถือเป็นลักษณะโดดเด่นและเป็นวัฒนธรรมที่คงแก้ไม่ได้
วิเคราะห์การตัดสินยุบพรรคอนาคตใหม่จากมุมมองทางรัฐศาสตร์ ? (ตอนที่เจ็ด)
ต่อกรณีพรรคอนาคตใหม่ ในฐานะนักรัฐศาสตร์ที่ไม่รู้เรื่องนิติศาสตร์ ผู้เขียนเห็นว่า การกู้ยืมเงินหัวหน้าพรรคเป็นจำนวนมากขนาดนั้น (191,200,000 บาท) จากบุคคลคนเดียวซึ่งเป็นหัวหน้าพรรคและเป็นแหล่งทุนสำคัญของพรรคเป็นสิ่งที่ไม่ถูกต้องและรับไม่ได้ตามหลักการที่ไม่ต้องการให้เกิดเงื่อนไขของการครอบงำในพรรคการเมือง
วิเคราะห์การตัดสินยุบพรรคอนาคตใหม่จากมุมมองทางรัฐศาสตร์ ? (ตอนที่หก)
ที่ผ่านมาห้าตอน ผู้เขียนได้ชี้ให้เห็นถึงสาเหตุของการยุบพรรคอนาคตใหม่ เพราะการกู้ยืมเงินหัวหน้าพรรคเป็นจำนวนมากถึง 191,200,000 บาท ขัดกับบทบัญญัติรัฐธรรมนูญ พ.ศ. 2560 มาตรา ๔๕ ที่มี “ความมุ่งหมายเพื่อรับรองเสรีภาพในการจัดตั้งพรรคการเมืองโดยกำหนดกรอบของกฎหมายเกี่ยวกับ
วิเคราะห์การตัดสินยุบพรรคอนาคตใหม่จากมุมมองทางรัฐศาสตร์ ? (ตอนที่ห้า)
กรณีที่ศาลรัฐธรรมนูญมีคำวินิจฉัยตัดสินยุบพรรคอนาคตใหม่จากการกู้ยืมเงินหัวหน้าพรรคตัวเองเมื่อวันที่ 21 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2563 ที่มีคนจำนวนหนึ่งหาว่าเป็นการกลั่นแกล้ง และทางพรรคอนาคตใหม่ก็มีข้อโต้แย้งในการต่อสู้คดีว่า “การกู้ยืมเงินในระบบกฎหมายต่างประเทศ พรรคการเมืองกู้ยืมเงินได้ โดยมีเงื่อนไขแตกต่างกัน และเมื่อเทียบเคียงกับนานาอารยประเทศแล้ว การกู้ยืมเงินเป็นนิติกรรมปกติ ที่พรรคการเมืองสามารถกระทำได้ทั่วไปและยังมีพรรคการเมืองอีก ๑๖ พรรคการเมือง ที่มีการกู้ยืมเงินซึ่งปรากฏในงบการเงินของพรรคการเมือง ประจำปี พ.ศ. ๒๕๖๑”
วิเคราะห์การตัดสินยุบพรรคอนาคตใหม่จากมุมมองทางรัฐศาสตร์ ? (ตอนที่สี่)
กรณีที่ศาลรัฐธรรมนูญมีคำวินิจฉัยตัดสินยุบพรรคอนาคตใหม่จากการกู้ยืมเงินหัวหน้าพรรคตัวเองเมื่อวันที่ 21 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2563 ที่มีคนจำนวนหนึ่งหาว่าเป็นการกลั่นแกล้ง และทางพรรคอนาคตใหม่ก็มีข้อโต้แย้งในการต่อสู้คดีว่า “การกู้ยืมเงินในระบบกฎหมายต่างประเทศ พรรคการเมืองกู้ยืมเงินได้ โดยมีเงื่อนไขแตกต่างกัน และเมื่อเทียบ
วิเคราะห์การตัดสินยุบพรรคอนาคตใหม่จากมุมมองทางรัฐศาสตร์ ? (ตอนที่สาม)
ข้อโต้แย้งประการหนึ่งของพรรคอนาคตใหม่ในการสู้คดีคือ “การกู้ยืมเงินในระบบกฎหมายต่างประเทศ พรรคการเมืองกู้ยืมเงินได้ โดยมีเงื่อนไขแตกต่างกัน และเมื่อเทียบเคียงกับนานาอารยประเทศแล้ว การกู้ยืมเงินเป็นนิติกรรมปกติ ที่พรรคการเมืองสามารถกระทำได้ทั่วไป