ป้ายกำกับ :

สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

พระราชบัญญัติหลักเกณฑ์การจัดทำร่างกฎหมายฯ กับการดำเนินนโยบายของรัฐบาล เพื่อให้ประชาชนมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น

ทุกประเทศเมื่อมีรัฐบาลใหม่ ก็ย่อมต้องมีการปรับเปลี่ยนนโยบายของรัฐบาลตามที่ได้มีการหาเสียงไว้ต่อประชาชน และต้องมีการแสดงความมุ่งมั่นชัดเจนโดยการประกาศนโยบายในด้านต่าง ๆ

กฎหมายว่าด้วยการปรับเป็นพินัย “สร้างความเป็นธรรม ขจัดความเหลื่อมล้ำทางสังคม”

พระราชบัญญัติว่าด้วยการปรับเป็นพินัย พ.ศ. 2565 ได้มีผลใช้บังคับเมื่อวันที่ 22 มิถุนายน 2566 ที่ผ่านมา โดยกฎหมายดังกล่าวมีประชาชนให้ความสนใจและได้รับการกล่าวถึงอย่างมากมาย

'กฤษฎีกา' แจงปมร้อน 'แอชตัน อโศก' ชี้ รฟม. ให้เอกชนใช้พื้นที่นอกเหนือวัตถุประสงค์การเวนคืน

นายนพดล เภรีฤกษ์ โฆษกสำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา เปิดเผยว่า ตามที่มีการส่งต่อข้อมูลผ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์ว่าคณะกรรมการกฤษฎีกาได้ให้ความเห็นกรณีอาคารชุดที่เป็นประเด็นอยู่ว่า การก่อสร้างสามารถทำได้ตามกฎหมายนั้น สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกาขอเรียนชี้แจง

ประโยชน์ที่ประชาชนได้รับจากกฎหมายว่าด้วยการปรับเป็นพินัย

พระราชบัญญัติว่าด้วยการปรับเป็นพินัย พ.ศ. 2565 ซึ่งมีผลใช้บังคับเมื่อวันที่ 22 มิถุนายน 2566 ที่ผ่านมา ได้กำหนดให้เปลี่ยนโทษอาญาในความผิดที่ไม่ใช่ความผิดร้ายแรง

คณะกรรมการว่าด้วยการปรับเป็นพินัยคือใคร? มีหน้าที่และที่มาอย่างไร?

เมื่อวันที่ 22 มิถุนายน 2566 ที่ผ่านมา พระราชบัญญัติว่าด้วยการปรับเป็นพินัย พ.ศ. 2565 ได้มีผลใช้บังคับแล้วพร้อมกับการออกอนุบัญญัติอีก 3 ฉบับ ประกอบด้วย กฎกระทรวงการแสวงหาข้อเท็จจริง

ชี้แจงข่าวกรณีการวินิจฉัยว่ารัฐวิสาหกิจมิใช่หน่วยงานของทางราชการ ที่ดำเนินงานโดยทางราชการเพื่อความมั่นคงปลอดภัยของประเทศ

เมื่อวันที่ 9 มีนาคม 2566 นายเพชร หวั่งหลี กรรมการผู้จัดการ บริษัท ธนากรผลิตภัณฑ์น้ำมันพืช จำกัด ผู้ผลิตและจำหน่ายน้ำมันพืชกุ๊ก และนายอภิชาต หวั่งหลี กรรมการและผู้จัดการมูลนิธิทองพูล หวั่งหลี

กฎหมายป้องกันและปราบปรามการทรมานและการกระทำให้บุคคลสูญหาย

ตามที่ประเทศไทยได้เข้าเป็นภาคีอนุสัญญาต่อต้านการทรมานและการประติบัติหรือการลงโทษอื่นที่โหดร้าย ไร้มนุษยธรรม หรือที่ย่ำยีศักดิ์ศรี เมื่อวันที่ 2 ตุลาคม 2550

กุญแจสำคัญสู่ความรู้ด้านกฎหมายปกครอง

พระราชบัญญัติวิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง พ.ศ. 2539 ได้ตราขึ้น โดยมีเจตนารมณ์เพื่อกำหนดหลักเกณฑ์และขั้นตอนต่าง ๆ สำหรับการดำเนินงานทางปกครองให้เป็นไปโดยถูกต้องชอบธรรม มีประสิทธิภาพ

ก้าวสำคัญของกฎหมายที่ดีเพื่อให้ประชาชนมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น

“Better Regulation for Better Life” หรือพัฒนาให้ดีเพื่อให้ประชาชนมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น เป็นวิสัยทัศน์ของสำนักงานฯ ที่ได้ตั้งเป้าหมายในการทำงานไปสู่ปี 2025

ปัจจัยสู่ความสำเร็จของการปฏิบัติราชการทางอิเล็กทรอนิกส์เพื่ออำนวยความสะดวกแก่ประชาชน

นอกจากรัฐธรรมนูญอันเป็นกฎหมายสูงสุดของประเทศ ซึ่งมีการวางหลักการพื้นฐานเกี่ยวกับสิทธิและเสรีภาพของประชาชนแล้ว กฎหมายหลายฉบับโดยเฉพาะกฎหมายกลางต่าง ๆ อาทิ

การประชุมความร่วมมือทางด้านกฎหมายระหว่างกระทรวงร่างกฎหมายของสาธารณรัฐเกาหลี (Ministry of Government Legislation (MOLEG)) กับสำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

เมื่อวันจันทร์ ที่ ๑๙ ธันวาคม ๒๕๖๕ สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา โดยกองกฎหมายต่างประเทศ ร่วมกับกองพัฒนากฎหมาย กองหลักนิติบัญญัติ

แนวคิดในการแก้ไขเพิ่มเติมกฎหมายว่าด้วยวิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง

โดยที่พระราชบัญญัติวิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง พ.ศ. 2539 มีหลักการบางประการที่ยังขาดความชัดเจน ไม่เหมาะสม หรือไม่สอดคล้องกับสภาพการณ์ที่เปลี่ยนแปลงไป

ผลการดำเนินงานที่สำคัญในปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 ของสำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

การตรวจพิจารณาร่างกฎหมายที่จะช่วยเหลือ บรรเทาความเดือดร้อน และแก้ไขข้อขัดข้องในการดำเนินชีวิตของประชาชน ถือเป็นหัวใจสำคัญที่สำนักงานฯ

พัฒนาการของกฎหมายว่าด้วยการเวนคืนและการได้มาซึ่งอสังหาริมทรัพย์

นับแต่รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560 มีผลบังคับใช้ กระบวนการตรากฎหมายของไทยได้มีการปรับเปลี่ยนวิธีการดำเนินการให้มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น โดยสร้างและสนับสนุน

ติดต่อราชการออนไลน์สะดวกรวดเร็ว กับกฎหมายการปฏิบัติราชการทางอิเล็กทรอนิกส์

เคยไปติดต่อราชการด้วยตนเอง แล้วพบความยากลำบากเกินควรไหมครับ? เสียทั้งเวลาเดินทาง เวลาต่อคิวเป็นวัน ๆ เสียทั้งเงินทอง ไม่ว่าจะค่าเดินทาง ค่าถ่ายเอกสาร

ความสำคัญของการยกเลิกพระราชบัญญัติว่าด้วยความผิดอันเกิดจากการใช้เช็ค พ.ศ. 2534

ที่ผ่านมามักมีการใช้เช็คในการทำธุรกรรมแทนเงินสด เนื่องจากมีความสะดวกและปลอดภัยจากการไม่ต้องพกเงินสดจำนวนมาก แต่ปัญหาหนึ่งที่เกิดขึ้นจากการใช้เช็คคือปัญหา “เช็คเด้ง”

ความร่วมมือด้านกฎหมายระหว่างประเทศเพื่อยกระดับคุณภาพชีวิตของประชาชน

สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกาเป็นเจ้าภาพร่วมกับสำนักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ในการจัดประชุม 15th APEC Conference on Good Regulatory Practice (GRP15)

การยกเลิกกฎหมายที่หมดความจำเป็นหรือซ้ำซ้อนกับกฎหมายอื่น

สิทธิและเสรีภาพของประชาชนได้รับการรับรองไว้ในรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย โดยรัฐจะดำเนินการที่กระทบกระเทือนต่อสิทธิเสรีภาพดังกล่าวได้ก็ต่อเมื่อมีกฎหมายให้อำนาจเท่านั้น

การรับฟังความคิดเห็นและวิเคราะห์ผลกระทบก่อนการออกกฎ

โดยธรรมชาติแล้ว “กฎหมาย” (ในที่นี้หมายถึง กฎหมายระดับพระราชบัญญัติ หรือกฎหมายแม่บท อาทิ พระราชบัญญัติ พระราชกำหนด

กฤษฎีกากับบทบาทภารกิจการเผยแพร่ความรู้ด้านกฎหมาย

สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกาในฐานะที่ปรึกษากฎหมายของรัฐมีหน้าที่หลักในการจัดทำกฎหมายและให้ความเห็นทางกฎหมายแก่หน่วยงานของรัฐ

เพิ่มเพื่อน