ป้ายกำกับ :

สศร.

‘วันเด็กแห่งชาติ 2566’ รวมงานศิลป์เพื่อเด็กไทย

เนื่องในวันเด็กแห่งชาติ ประจำปี  2566 ตรงกับวันเสาร์ที่ 14 มกราคม 2565 โดยมีการให้คำขวัญวันเด็กทุกปีโดยนายกรัฐมนตรีไทย ทั้งนี้ พลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรี ได้มอบคำขวัญเนื่องในวันเด็กแห่งชาติ ประจำปี 2566 ว่า”รู้หน้าที่ มีวินัย ใฝ่ความดี” ขณะที่หน่วยงานภาครัฐและเอกช

สตรีทอาร์ต’กระตั้วแทงเสือ’ เชื่อมเก่า-ใหม่

ในยุคดิจัลที่ความบันเทิงมีให้ดูผ่านออนไลน์มากมาย ทั้งคอนเสิร์ตศิลปินดัง  ซีรี่ส์ ภาพยนตร์ เกมส์กีฬา  ทำให้ปัจจุบันการละเล่นพื้นบ้านไทยหาดูได้ยาก คนรุ่นใหม่ไม่ค่อยรู้จัก ในขณะเดียวกันสถานการณ์ของการละเล่นไทย

เที่ยวเมืองพญานาค’บึงกาฬ’ สัมผัสพลังศรัทธา

ชาวบึงกาฬเป็น 1 ใน 8 จังหวัดลุ่มน้ำโขง มีความเชื่อ  ความศรัทธา เรื่องพญานาคอย่างเหนียวแน่นสืบทอดกันมาหลายชั่วอายุคน  ทำให้พญานาคไปปรากฏในสถานที่ศักดิ์สิทธิ์ พบได้จากงานสถาปัตยกรรมตามวัดวาอารามในจังหวัดบึงกาฬ  โดยเฉพาะวัดอาฮงศิลาวาสริมฝั่งแม่น้ำโขงบริเวณแก่งอาฮง จุดที่ได้ชื่อว่าลึกที่สุดของแม่น้ำโขง ซึ่งมีเรื่องเล่าสืบต่อกันมาเกี่ยวกับความเชื่อเป็นเมืองหลวงพญา

ดีไซเนอร์จับคู่ชุมชนแดนใต้ พัฒนาลายบาติกรังสรรค์แฟชั่น

เตรียมพบกับคอลเลคชั่นผ้าบาติกชายแดนใต้ใหม่ล่าสุดภายในงาน “ภูษาศิลป์ จากท้องถิ่นสู่สากล” เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง เนื่องในโอกาสมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา 90 พรรษา 12 สิงหาคม 2565 ระหว่างวันที่ 11-14 สิงหาคม 2565 ที่รอยัลพารากอน ฮอลล์  ศูนย์การค้าสยามพารากอน

ยกระดับมาตรฐาน 6 หอศิลป์ภูมิภาค ต่อลมหายใจศิลปิน

16 มิ.ย.2565 – นายโกวิท  ผกามาศ ผอ.สำนักงานศิลปวัฒนธรรมร่วมสมัย  กล่าวในการเป็นประธานในพิธีลงนามบันทึกข้อตกลงความร่วมมือ (MOU) ว่าด้วยการส่งเสริมการดำเนินงานของหอศิลป์ และแหล่งเรียนรู้ด้านศิลปวัฒนธรรมในส่วนภูมิภาค ว่า  สำนักงานศิลปวัฒนธรรมร่วมสมัย (สศร.​)  กระทรวงวัฒนธรรม (วธ.)  

นักกราฟิกรุ่นใหม่เปลี่ยนโฉมสินค้าชุมชนให้ปัง

นักออกแบบกราฟิกคลื่นลูกใหม่ลงพื้นที่ค้นหาอัตลักษณ์ ภูมิปัญญา งานช่างฝีมือของชุมชนต่างๆ ใน จ.หนองคาย มาเป็นแรงบันดาลใจในการพัฒนาออกแบบบรรจุภัณฑ์ให้สวยงามโดนใจผู้บริโภค และสามารถใข้สอยได้จริง  สร้างเม็ดเงินให้กับชุมชน

ฝ่าขวากหนามสู่ผ้าร่วมสมัยชายแดนใต้

กว่า 6 ปีที่สำนักงานศิลปวัฒนธรรมร่วมสมัย (สศร.) ร่วมพัฒนาสิ่งทอในจังหวัดชายแดนใต้ เป็นบทพิสูจน์ความร่วมมือกับชุมชนในการก้าวผ่านอุปสรรคต่างๆ  ตั้งแต่เทคนิค ลวดลาย เทรนด์การออกแบบเครื่องแต่งกายผ้าไทย ตลาดสินค้าบนแพลตฟอร์มดิจิทัล  ซึ่งเป็นการปรับตัวของแวดวงสิ่งทอ มีชุมชนจำนวนมากที่ต้องเลิกอาชีพทอผ้า

เพิ่มเพื่อน