ป้ายกำกับ :

ฝนตก

กรมอุตุฯ เตือนพายุฤดูร้อนฉบับสุดท้าย ‘เหนือ-กลาง-กทม.-ตะวันออก’ มีฝนบางพื้นที่

กรมอุตุนิยมวิทยา ออกประกาศฉบับที่ 7 เรื่อง พายุฤดูร้อนบริเวณประเทศไทยตอนบน(ฉบับสุดท้ายของเหตุการณ์นี้)

อุตุฯเตือน หลายพื้นที่รับมือ พายุฤดูร้อน ลูกเห็บตก และฟ้าผ่าบางพื้นที่

กรมอุตุนิยมวิทยา รายงานพยากรณ์อากาศ 24 ชั่วโมงข้างหน้า บริเวณความกดอากาศสูงหรือมวลอากาศเย็นจากประเทศจีนปกคลุมภาคตะวันออกเฉียงเหนือและทะเลจีนใต้ประกอบกับลมใต้และลมตะวันออกเฉียงใต้พัดปกคลุมภาคเหนือตอนล่าง

กรมอุตุฯ ประกาศฉบับ 5 เตือน 23 จังหวัด ระวังอันตราย 'พายุฤดูร้อน' ถึง 3 มี.ค.

กรมอุตุนิยมวิทยา ออกประกาศเรื่อง พายุฤดูร้อนบริเวณประเทศไทยตอนบน ฉบับที่ 5 (มีผลกระทบจนถึงวันที่ 3 มีนาคม 2567)

กรมอุตุฯ เตือนฉบับ 3 เปิดพื้นที่เสี่ยงอันตราย 'พายุฤดูร้อน' ใน 24 ชม.ข้างหน้า

กรมอุตุนิยมวิทยา ออกประกาศเรื่อง พายุฤดูร้อนบริเวณประเทศไทยตอนบน ฉบับที่ 3 (มีผลกระทบจนถึงวันที่ 3 มีนาคม 2567)

อุตุฯ พยากรณ์อากาศ 10 วันล่วงหน้า ช่วงเปลี่ยนฤดู

กรมอุตุนิยมวิทยา รายงานผลการพยากรณ์ฝนสะสมรายวัน (ทุกๆ 24 ชม. : (นับตั้งแต่ 07.00 น. ถึง 07.00 น.วันรุ่งขึ้น) 10 วันล่วงหน้า ระหว่าง 1 – 10 มี.ค. 67 จากศูนย์พยากรณ์อากาศระยะกลางยุโรป : ทิศทางลมเปลี่ยนแปลงเป็นช่วงๆ

กรมอุตุฯ ประกาศฉบับ 2 เตือน 'พายุฤดูร้อน' ถล่มถึง 3 มี.ค.

นางสาวกรรวี สิทธิชีวภาค อธิบดีกรมอุตุนิยมวิทยา ออกประกาศกรมอุตุนิยมวิทยา เรื่อง “พายุฤดูร้อนบริเวณประเทศไทยตอนบน” ฉบับที่ 2 (มีผลกระทบจนถึงวันที่ 3 มีนาคม 2567) โดยระบุว่า

อุตุฯ เตือนอากาศร้อน ฟ้าหลัวกลางวัน พายุฝนฟ้าคะนอง 32 จังหวัด

กรมอุตุนิยมวิทยา พยากรณ์อากาศ 24 ชั่วโมงข้างหน้าว่า ความกดอากาศต่ำเนื่องจากความร้อนปกคลุมประเทศไทยตอนบน ทำให้บริเวณดังกล่าวมีอากาศร้อนในหลายพื้นที่

กรมอุตุฯ ประกาศฉบับ 8 เตือน 'พายุฤดูร้อน' ถล่ม 22 จังหวัด

นางสาวกรรวี สิทธิชีวภาค อธิบดีกรมอุตุนิยมวิทยา ออกประกาศกรมอุตุนิยมวิทยา เรื่อง “พายุฤดูร้อนบริเวณประเทศไทยตอนบน” ฉบับที่ 8 (มีผลกระทบจนถึงวันที่ 26 กุมภาพันธ์ 2567) โดยมีใจความว่า

อุตุฯ เตือนอากาศร้อน ฟ้าหลัวกลางวัน พายุฝนฟ้าคะนอง ลมแรง ลูกเห็บตก

กรมอุตุนิยมวิทยา พยากรณ์อากาศ 24 ชั่วโมงข้างหน้าว่า ความกดอากาศต่ำเนื่องจากความร้อนปกคลุมประเทศไทยตอนบน ทำให้บริเวณดังกล่าวมีอากาศร้อนกับมีฟ้าหลัวในตอนกลางวัน

กรมอุตุฯ เตือนฉบับ 5 อัปเดตพื้นที่เสี่ยงอันตรายจากพายุฤดูร้อน 25-26 ก.พ.นี้

กรมอุตุนิยมวิทยา ออกประกาศเรื่อง พายุฤดูร้อนบริเวณประเทศไทยตอนบน ฉบับที่ 5 (มีผลกระทบจนถึงวันที่ 26 กุมภาพันธ์ 2567) บริเวณความกดอากาศสูงหรือมวลอากาศเย็นจากประเทศจีนจะแผ่ลงมาปกคลุม

อุตุฯ พยากรณ์อากาศ 10 วันล่วงหน้า หลังไทยเข้าสู่ฤดูร้อน

กรมอุตุนิยมวิทยา รายงานผลการพยากรณ์ฝนสะสมรายวัน (ทุกๆ 24 ชม. :(นับตั้งแต่ 07.00 น. ถึง 07.00 น .วันรุ่งขึ้น) 10 วันล่วงหน้า ระหว่าง 23 ก.พ. – 3 มี.ค. 67 จากศูนย์พยากรณ์อากาศระยะกลางยุโรป (ECMWF) :

กรมอุตุฯ ประกาศฉบับ 2 เตือนพายุฤดูร้อน ถล่ม 19 จังหวัด

นางสาวกรรวี สิทธิชีวภาค อธิบดีกรมอุตุนิยมวิทยา ออกประกาศกรมอุตุนิยมวิทยา เรื่อง พายุฤดูร้อนบริเวณประเทศไทยตอนบน ฉบับที่ 2 (มีผลกระทบในช่วงวันที่ 24-26 กุมภาพันธ์ 2567) โดยระบุว่า

อุตุฯ เตือน 24-26 ก.พ. รับมือพายุฤดูร้อน ฝนฟ้าคะนอง ลมแรง ลูกเห็บตก

กรมอุตุนิยมวิทยา พยากรณ์อากาศ 24 ชั่วโมงข้างหน้าว่า หย่อมความกดอากาศต่ำเนื่องจากความร้อนปกคลุมประเทศไทยตอนบน ทำให้บริเวณดังกล่าวมีอากาศร้อนในหลายพื้นที่

อุตุฯ พยากรณ์ 10 วันล่วงหน้า อากาศแปรปรวน รับมือฝนฟ้าคะนอง

กรมอุตุนิยมวิทยา รายงานผลการพยากรณ์ฝนสะสมรายวัน (ทุกๆ 24 ชม. : (นับตั้งแต่ 07.00 น. ถึง 07.00 น.วันรุ่งขึ้น) 10 วันล่วงหน้า ระหว่าง 19 – 28 ก.พ. 67 จากศูนย์พยากรณ์อากาศระยะกลางยุโรป (ECMWF) :

อุตุฯ เตือนอากาศเปลี่ยน กลางวันร้อน ฝนฟ้าคะนอง 10-20%

กรมอุตุนิยมวิทยา พยากรณ์อากาศ 24 ชั่วโมงข้างหน้าว่า ลมใต้และลมตะวันออกเฉียงใต้พัดปกคลุมภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนล่าง ภาคกลาง และภาคตะวันออก

พยากรณ์อากาศ 18-27 ก.พ. ลมเปลี่ยนทิศ เหนือ-อีสาน เช้ามีฝน กลางวันแดดแรง

ช่วง 18-27 ก.พ.67  ลมส่วนใหญ่เริ่มเปลี่ยนทิศทาง เป็นลมฝ่ายใต้(จากอ่าวไทย)  ลมตะวันออกเฉียงใต้กำลังปานกลางพัดปกคลุม ภาคอีสานตอนล่าง ภาคกลาง ภาคตะวันออก กทม.และปริมณฑล  ส่วนภาคเหนือ ภาคอีสานตอนบน

ชาวกรุง - ปริมณฑล รับมือฝนฟ้าคะนองวันนี้

กรมอุตุนิยมวิทยา รายงานพยากรณ์อากาศ 24 ชั่วโมงข้างหน้า คลื่นกระแสลมฝ่ายตะวันตกจากประเทศเมียนมาเคลื่อนเข้าปกคลุมภาคเหนือ ประกอบกับมีลมใต้และลมตะวันออกเฉียงใต้พัดปกคลุมภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนล่าง

กรมอุตุฯ แจ้งกรุงเทพฯ-ปริมณฑล มีฝนฟ้าคะนองร้อยละ 30 ของพื้นที่

กรมอุตุนิยมวิทยา พยากรณ์อากาศ 24 ชั่วโมงข้างหน้า พบว่า บริเวณความกดอากาศสูงหรือมวลอากาศเย็นที่ปกคลุมประเทศไทยตอนบน

1...181920...50

เพิ่มเพื่อน