ถอดบทเรียนแก้ PM2.5 เอลนีโยเพิ่มฝุ่นปี 67
สถานการณ์ฝุ่นละอองขนาดเล็กไม่เกิน 2.5 ไมครอน หรือ PM 2.5 ปี 2567 มีนักวิชาการด้านสิ่งแวดล้อมคาดว่า คนในพื้นที่กรุงเทพฯ และพื้นที่ภาคเหนือของไทย จะเผชิญสภาพอากาศเลวร้าย มีหมอกควันฝุ่นพิษปกคลุมรุนแรงมากขึ้น ผลกระทบจากปรากฎการณ์เอลนีโญ ซึ่งจะทำให้ฝนน้อย
‘น้ำมันรั่วชลบุรี-ทะเลสีเขียว’ ปลุกแก้ที่ต้นเหตุ
จากเกิดเหตุการณ์น้ำมันดิบรั่วไหล บริเวณตอนใต้ของเกาะสีชัง จ.ชลบุรี กลางดึกวันที่ 3 กันยายน 2566 ที่ผ่านมา แม้ว่าปัจจุบันสถานการณ์คลี่คลาย ไม่พบคราบน้ำมันในทะเล และไม่พบการเคลื่อนตัวของคราบน้ำมันบริเวณเกาะสีชัง ตลอดจนบริเวณชายฝั่งตั้งแต่หาดบางพระ
'พัชรวาท'เข้ากระทรวง ทส. กำชับเกาะติดน้ำมันรั่ว
7 ก.ย.2566 – เวลา 09.50 น. พล.ต.อ.พัชรวาท วงษ์สุวรรณ รองนายกรัฐมนตรี และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม (รมว.ทส.) เดินทางเข้ากระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมเป็นวันแรก โดยมีนายจตุพร บุรุษพัฒน์ ปลัดกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม (ปกท.ทส.)
ทีมวิจัยจุฬาฯ ห่วงน้ำมันรั่วชลบุรี ทำปะการังเป็นหมัน
7 ก.ย.2566 – จากเหตุการณ์น้ำมันรั่วที่จังหวัดชลบุรี สถาบันวิจัยทรัพยากรทางน้ำ ร่วมกับ ภาควิชาวิทยาศาสตร์ทางทะเล คณะวิทยาศาสตร์ และศูนย์บริการวิชาการ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ได้ออกไปสำรวจเบื้องต้น พบว่ายังไม่พบผลกระทบที่เห็นชัดเกิดขึ้น เนื่องจากคราบน้ำมันได้ถูกกำจัดไปเกือบหมดแล้ว
โรดแมฟกรุงเทพฯ รับมือภัยพิบัติกระหน่ำ
ไม่มีคนกรุงเทพฯ คนไหนไม่เคยลุยน้ำท่วม เพราะน้ำท่วมเป็นปัญหาซ้ำซากของกรุงเทพมหานคร นี่ยังไม่รวมปัญหาไฟไหม้ ตึกถล่ม น้ำเน่าเสีย คลื่นความร้อนในเมืองที่นับวันทวีความรุนแรงมากขึ้น ผลจากพฤติกรรมมนุษย์และปัญหาการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ ที่ยกระดับเป็นโลกเดือดในตอนนี้
‘เอลนีโญ’ซ้ำเติมโลกเดือด ไทยแล้งหนัก
ในช่วงเวลาที่โลกกำลังเผชิญการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ ทำให้ภูมิอากาศเปลี่ยนแปลงอย่างรุนแรงทั่วทุกภูมิภาค รวมทั้งทวีปเอเชียและประเทศไทย องค์การอุตุนิยมวิทยาโลกออกมาระบุว่า ปรากฏการณ์เอลนีโญได้ปรากฏขึ้นตั้งแต่ต้นกรกฏาคมที่ผ่านมา และถูกคาดการณ์ว่า จะลากยาวนับจากปีนี้ ส่งผลให้อุณหภูมิในหลายพื้นที่สูงขึ้น