หมวดหมู่: ศิลปวัฒธรรม

'ข้าวต้มมัด'ครองใจขนมไทยอันดับหนึ่งของคนไทย รองลงมา'ขนมครก '

จากผลสำรวจของ ” สวนดุสิตโพล “ที่ทำการสำรวจในหัวข้อ “ขนมไทยกับคนไทย”ชี้เป็นหนึ่งในSoft Power ที่น่าจับตาไม่แพ้เอกลักษณ์วัฒนธรรมอื่นๆ

53 ศิลปินไทย-เทศพร้อมโชว์ 'ไทยแลนด์เบียนนาเล่โคราช'

8 พ.ย. 2564 – นายอิทธิพล คุณปลื้ม รัฐมนตรีว่าการกระทรวงวัฒนธรรม เปิดเผยว่า เมื่อเร็วๆนี้ ได้รับรายงานเบื้องต้นจากกระทรวงวัฒนธรรม (วธ.) เกี่ยวกับความคืบหน้าการจัดงานมหกรรมศิลปะนานาชาติ ครั้งที่ 2 Thailand Biennale, Korat 2021 จังหวัดนครราชสีมา ภายใต้

คอลเลคชั่นรับลมหนาวสินค้าแฟชั่น'สายใจไทย'

ในวันที่รั้วของชาติไม่อาจจับอาวุธได้เหมือนเก่า แต่สองมือของเหล่าทหารผ่านศึกผู้ทุพพลภาพยังคงช่วยสร้างประโยชน์ เปลี่ยนจากอาวุธมาจับพู่กันวาดเส้นสาย ลวดลายของหมู่มวลดอกไม้ อันเป็นเอกลักษณ์บนชิ้นงานฝีมือของผลิตภัณฑ์จากมูลนิธิสายใจไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์ ซึ่งได้รับการสร้างสรรค์ด้วยความมุ่งมั่นตั้งใจ จนกลายเป็นสินค้าและผลิตภัณฑ์

'กิตติพันธ์' เร่งพัฒนาพิพิธภัณฑ์ ดัน 'ภูพระบาท' มรดกโลก

‘กิตติพันธ์’อธิบดีกรมศิลป์เร่งพัฒนาพิพิธภัณฑ์ มอบนโยบายหาจุดขายจัดนิทรรศการดึงคนรุ่นใหม่ พร้อมดัน’ภูพระบาท-ศรีเทพ’ขึ้นมรดกโลก

ปั้นหอศิลป์แห่งชาติสู่แลนด์มารค์ให้คนแห่มาชมงาน

6 พ.ย. 2564 – นางยุพา ทวีฒนะกิจบวร ปลัดกระทรวงวัฒนธรรม (วธ.) กล่าวในการเปิดโครงการประชาสัมพันธ์สร้างการรับรู้ เพื่อเตรียมความพร้อมเปิดใช้หอศิลป์แห่งชาติว่า ภายหลังการก่อสร้างและการตกแต่งพื้นที่ส่วนต่างๆ ของหอศิลป์แห่งชาติแล้วเสร็จ ได้จัดกิจกรรมเปิดตัวอย่างไม่เป็นทางการ เพื่อสร้างการรับรู้แก่ประชาชน และกลุ่มศิลปินแขนง

'ท่านผู้หญิงสิริกิติยา' พัฒนาโขนแบบร่วมสมัย

1 พ.ย.2564 นายอิทธิพล คุณปลื้ม รัฐมนตรีว่าการกระทรวงวัฒนธรรม เปิดเผยว่า กระทรวงวัฒนธรรม (วธ.) มีนโยบายสืบสาน รักษา ต่อยอดงานศิลปวัฒนธรรมของชาติอย่างยั่งยืนและส่งเสริมและพัฒนาความสัมพันธ์ทางวัฒนธรรมกับต่างประเทศเพื่อนำความเป็นไทยสู่สากล ดังนั้น วธ.ร่วมกับสถานเอกอัครราชทูตสาธารณรัฐฝรั่งเศสประจำ

ต่อยอด 28 ภูมิปัญญาวัฒนธรรมน่าน

จากวัฒนธรรมที่มีคุณค่า สู่เครื่องมือที่ใช้รักษาดิน น้ำ ป่า มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง (มฟล.) ขับเคลื่อนแนวคิด Culture Alert Nature Alive หรือวัฒนธรรมนฤมิต คืนชีวิตให้ธรรมชาติผ่านนิทรรศการ’

ท่วมหนักโบราณสถานลุ่มเจ้าพระยา

น.ส.สุกัญญา เบาเนิด ผอ.สำนักศิลปากรที่ 3 พระนครศรีอยุธยา เปิดเผยว่า จากการที่ในช่วง 2 – 3 วันมีฝนตกลงมาต่อเนื่องส่งผลให้ปริมาณน้ำที่เริ่มลดระดับลงกลับมาเพิ่มสูงขึ้นอีก ประกอบกับยังมีการระบายน้ำของเขื่อนเจ้าพระยาอย่างต่อเนื่องทำให้ล่าสุดปริมาณน้ำกลับมาอยู่ในระดับเดียวกับช่วงต้นเดือน ต.ค. ทำให้โบราณสถานที่อยู่รอบนอกยังคงถูกน้ำท่วมขังอยู่ ขณะที่โบราณสถานบางแห่งที่อยู่ในพื้นที่เกาะเมืองอุทยานประวัติศาสตร์พระนครศรีอยุธยาในทั้งในพื้นที่ลุ่มต่ำบางพื้นที่ได้รับผลกระทบจากฝน

เพิ่มเพื่อน