50 ศิลปินหน้าใหม่ร่วม Mango Art Festival 2024
เทศกาลศิลปะแมงโก้ ครั้งที่ 4 (Mango Art Festival 2024) ซึ่งเป็นที่เฝ้ารอของเป็นศิลปิน คนในแวดวงศิลปะทุกแขนง อาร์ตเลิฟเวอร์ หรือนักสะสมกลับมาอีกครั้ง เพื่อพาทุกคนออกเดินทางสู่โลกศิลปะไร้พรมแดน และเป็นเวทีให้ศิลปินและแกลเลอรี่ได้นำผลงานมาแสดง
ตามรอยสังเวชนียสถาน แดนพุทธภูมิอันศักดิ์สิทธิ์
เดินทางข้ามพรมแดนไปลุมพินี 1 ใน 4 สังเวชนียสถานที่เนปาล พระภิกษุและผู้แสวงบุญเข้าสักการะภายในวิหารมายาเทวึ สถานที่ประสูติของเจ้าชายสิทธัตถะ รอยพระบาทแรกของพระพุทธเจ้าประทับ ณ สถานที่แห่งนี้ ต่อมาตรัสรู้เป็นพระศาสดาของศาสนาพุทธ
ค้นหาอัตลักษณ์ 6 จังหวัด จัดฉลองสงกรานต์ยิ่งใหญ่
26 มี.ค.2567 – นางยุพา ทวีวัฒนะกิจบวร ปลัดกระทรวงวัฒนธรรม กล่าวว่า จากการประชุมติดตามความคืบหน้าการดำเนินงานจัดกิจกรรมเทศกาลสงกรานต์ ประจำปี 2567 ร่วมกับประธานสภาวัฒนธรรมจังหวัด 6 พื้นที่ ได้แก่ กรุงเทพมหานคร ภูเก็ต เชียงใหม่ ขอนแก่น สมุทรปปราการ และชลบุรี
โดนใจป๊อบอาร์ต The Lobster ศิลปะระดับโลก
ทั่วไทยเตรียมฉลองสงกรานต์ปี 2567 รัฐบาลประกาศจัดสงกรานต์ 21 วัน ตั้งแต่วันที่ 1-21 เมษายน 2567 เฉลิมฉลองที่ยูเนสโกขึ้นทะเบียน“สงกรานต์ในประเทศไทย” เป็นรายการในบัญชีตัวแทนมรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมที่จับต้องไม่ได้ของมนุษยชาติ
ขุดค้น'วัดจักรวรรดิ' พัฒนาย่านเมืองเก่า
วัดจักรวรรดิราชาวาส วรมหาวิหาร หรือนิยมเรียกกันสั้นๆ ว่า ‘วัดจักรวรรดิ’ เป็นวัดสำคัญกรุงรัตนโกสินทร์ มีอายุเก่าแก่ตั้งแต่สมัยอยุธยา เดิมชื่อวัดนางปลื้ม ต่อมาเรียกว่า วัดสามปลื้ม ขณะนี้มีความจำเป็นสำคัญเร่งด่วนในการสำรวจและขุดค้นทางโบราณคดีวัดจักรวรรดิฯ
ผู้แสวงบุญอินเดียเพิ่ม ขยายศูนย์ดูแลพุทธศาสนิกชน
ปี 2567 มีพุทธศาสนิกชนชาวไทยไม่ต่ำกว่า 7 หมื่นคนเดินทางมาจาริกแสวงบุญดินแดนพุทธภูมิ ณ สังเวชนียสถาน ประเทศอินเดีย-เนปาล นำมาสู่แผนการขยายศูนย์อำนวยความสะดวกดูแลผู้แสวงบุญดินแดนพุทธภูมิให้มีเพิ่มมากขึ้น พระมหานิพนธ์ ญาณวีโร
สัมผัสสถานที่จริง'สังเวชนียสถาน' ต่อยอดงานศาสนา
พระสงฆ์และพุทธศาสนิกชนได้เดินทางไปสัมผัสสถานที่จริงที่สังเวชนียสถาน 4 ตำบล ซึ่งเกี่ยวข้องกับพุทธประวัติ 4 แห่ง สถานที่ประสูตร สถานที่ตรัสรู้ สถานที่แสดงปฐมเทศนา และสถานที่ปรินิพพาน ในประเทศอินเดียและเนปาลอีกครั้งจากการเข้าร่วมโครงการส่งเสริมพระสงฆ์และพุทธศาสนิกชน
'ชีวิตนี้ชะตาลิขิต'บันทึก 7 รอบนักษัตร'สุเมธ ตันติเวชกุล'
ครั้งแรกของการบอกเล่าเรื่องราวชีวิตของ ดร. สุเมธ ตันติเวชกุล กรรมการและเลขาธิการมูลนิธิชัยพัฒนา ผู้รับใช้ใต้เบื้องพระยุคลบาทพระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร รวบรวมไว้ในหนังสือ “ชีวิตนี้ชะตาลิขิต ดร.สุเมธ ตันติเวชกุล ”