คลื่นแรงจากทะเลจีนใต้ กระเพื่อมมาถึงวอชิงตัน
ประเทศในอาเซียนต้องพยายามรักษา “ระยะห่างอันเหมาะควร” กับมหาอำนาจอย่างจีนและสหรัฐฯ อย่างระมัดระวังมากขึ้นทุกที
หากเราไม่เอาจริงกับหยุดทำลายป่า จะโดนกีดกันการค้าในตลาดโลก
วันก่อน ผมเขียนถึงกฎหมายฉบับใหม่ของสหภาพยุโรป ที่ต้องการหยุดยั้งการตัดไม้ทำลายป่าทั่วโลก ด้วยการกำหนดให้บริษัทที่นำเข้าสินค้า 7 ประเภทต้องตรวจสอบย้อนกลับว่า การผลิตสินค้าต้องไม่มีความเชื่อมโยงกับการทำลายป่า
'บัน กีมูน' ไปทำอะไรที่เมียนมา?
ความพยายามจะเรียกร้อง กดดัน โน้มน้าวผู้นำทหารเมียนมาให้ยอมทำตาม “ฉันทามติ 5 ข้อของอาเซียน” ดูเหมือนจะเป็นภารกิจที่หนักหน่วงและท้าทายยิ่งนัก
ไทยกระทบด้วยเมื่อ EU ออกกฎหมายควบคุมทำลายป่า
เรื่องสิ่งแวดล้อมระดับโลกไม่ได้ห่างไกลจากชีวิตของคนไทยอีกต่อไปจริงๆ
บทสนทนา สี จิ้นผิง-เซเลนสกี: บทพิสูจน์อยู่ที่การต่อสายถึงปูติน
ในที่สุด สี จิ้นผิง ผู้นำจีนก็ได้พูดคุยกับประธานาธิบดียูเครน โวโลดิมีร์ เซเลนสกี หลังจากการคาดเดาและลุ้นในแวดวงการทูตกว่า 6 สัปดาห์
มองข้ามคำหรูๆ ว่าด้วย ‘เทคโนโลยี’ สู่ของจริง
พรรคการเมืองที่กำลังหาเสียงอยู่ขณะนี้พูดถึงเรื่อง “เศรษฐกิจดิจิทัล” กันคึกคัก แต่น่าสงสัยว่าแต่ละพรรคจะมีความเข้าใจความแตกต่างระหว่างเทคโนโลยี กับปัญหาพื้นฐานที่ต้องแก้ไขกันอย่างรอบด้านมากน้อยแค่ไหน
หมอกควันข้ามพรมแดนอาเซียน: ข้อตกลงเดิมยังขาดความขลัง!
หนึ่งในความซับซ้อนของปัญหาหมอกควันที่ไทยเรากำลังเผชิญอยู่คือ การเผาป่าและกิจกรรมที่สร้างมลพิษของเพื่อนบ้าน
ดีเบตพรรคการเมืองยังขาดประเด็นร้อน ‘รับรองสิทธิคนไทยหายใจอากาศบริสุทธิ์’
เวทีดีเบตของพรรคการเมืองที่ผ่านมาเน้นประเด็น “ประชานิยม” และ “ใครจะมีดีลลับกับใคร” มากกว่าหัวข้ออื่นที่มีความสำคัญไม่น้อยไปกว่าเรื่องเศรษฐกิจและการเมือง
ข้อดีและข้อเสียสำหรับอินเดีย เมื่อประชากรแซงหน้าจีน!
เมื่ออินเดียแซงหน้าจีนในฐานะประเทศประชากรสูงสุดของโลก…เป็นข่าวดีหรือข่าวร้าย?
ทำไมสี จิ้นผิง ยังไม่ต่อสายถึงเซเลนสกี?
จะบอกว่า สี จิ้นผิง ไม่มีเบอร์ตรงของเซเลนสกีก็คงไม่ถูกนัก และถ้าเซเลนสกีตัดสินใจต่อสายไปปักกิ่ง, สี จิ้นผิง จะรับสายไหม?