คิสซิงเจอร์: ‘นักการทูตอันปราดเปรื่อง’ หรือ‘อาชญกรสงครามผู้โหดเหี้ยม’
เฮนรี คิสซิงเจอร์ที่เพิ่งเสียชีวิตในวัย 100 ปีเมื่อวานเป็นนักการทูตและนักยุทธศาสตร์สหรัฐฯที่น่าทึ่ง, น่ากลัว, และน่าสนใจที่สุดคนหนึ่ง
แถลง ‘แก้หนี้นอกระบบ’: เริ่มด้วยคำหรูจบด้วยคำถาม
ผมตั้งใจฟังคำแถลง “แก้หนี้นอกระบบ” ของนายกฯ เศรษฐา ทวีสิน มากเพราะอยากรู้จริงๆ ว่าในทางปฏิบัติทำอย่างไรจึงจะให้ “หนี้ใต้ดิน” กลายเป็น “หนี้บนดิน”
นักการทูตไทยยุคดิจิทัล ต้องสร้างใหม่อย่างเร่งรีบ
ต่อแต่นี้ไป นโยบายต่างประเทศจะต้องมองให้ครบทุกมิติของประเด็นการเมือง, เศรษฐกิจ, ความมั่นคงและสังคมที่กำลังปรับเปลี่ยนไปอย่างหนักหน่วงและรุนแรง
ไทยจะ ‘วางตำแหน่ง’ ในเวทีโลกตรงไหน?
นโยบายการต่างประเทศไทย “ยุคใหม่” ที่เป็นรูปธรรม จับต้องได้เป็นอย่างไร? เมื่อวานได้นำเอาบางตอนของแนวทางวิเคราะห์สถานการณ์โลกที่ปรับเปลี่ยนไปของรองนายกฯ และรัฐมนตรีต่างประเทศคนใหม่, คุณปานปรีย์ พหิทธานุกร, มาเล่าให้ฟังแล้ว
การทูตเชิงรุกให้ไทย กลับอยู่จอเรดาร์โลก
นโยบายต่างประเทศของไทยกำลังจะเดินไปบนเส้นทางไหนอย่างไรจะมีผลต่อการทำให้ประเทศไทย “กลับสู่จอเรดาร์โลก” หรือไม่
สร้างอนาคตต้องเลิกมองสั้น ขจัดอุปสรรค, มุ่งสร้างรากฐาน
ถ้าจะสร้างอนาคตด้านเศรษฐกิจที่มั่นคงจริงๆ จะต้องลงมือทำอะไรบ้าง?
เศรษฐกิจไทยโตต่ำกว่าศักยภาพ หรือศักยภาพไทยต่ำลง?
ยิ่งสังคมไทยได้ติดตามข้อถกแถลงว่าด้วยการ “กู้มาแจก” เพราะเศรษฐกิจไทย “โตต่ำกว่าศักยภาพ” จริงหรือไม่ ก็ยิ่งทำให้คนไทยทั่วไปมีโอกาสได้ซักถาม, เรียนรู้และหาทางออกพร้อมกันไปมากขึ้น
ถ้าไม่กู้มาแจก...จะกระตุ้น เศรษฐกิจอย่างไร?
เมื่อวานได้อ่าน ดร. พิสิฐ ลี้อาธรรม, อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงการคลัง, แสดงเหตุผลว่าแนวทางการ “กู้มาแจก” 5 แสนล้านบาทนั้นไม่ได้ผลแน่
ถ้ากู้มาแจก เศรษฐกิจจะ หมุน 3.3 รอบจริงหรือ?
เมื่อวานเขียนถึงข้อโต้แย้งระหว่างรัฐบาลกับคนที่เห็นต่างว่าด้วยเรื่อง “กู้มาแจก” ซึ่งกำลังจะกลายเป็นประเด็นที่ท้ายที่สุดต้องตัดสินว่าเศรษฐกิจของไทยวันนี้อยู่ในขั้น “วิกฤต” หรือไม่
นโยบาย ‘กู้มาแจก’ : วิวาทะระดับชาติ วิบากกรรมหนักหน่วงของรัฐบาลเศรษฐา
ประเด็นโต้แย้งของฝ่ายผลักดันกับคัดค้านนโยบายเติมเงิน 10,000 บาท ผ่านดิจิทัลวอลเล็ตของรัฐบาล เป็นเรื่องราวที่ร้อนแรงเกือบทุกวงการ