วิกฤตความเชื่อถือ! ศ.ดร.ไชยันต์แนะ 'เศรษฐา' ลาออก

17 ก.ค.2567 - ศ.ดร.ไชยันต์ ไชยพร อาจารย์ภาควิชาการปกครอง คณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย โพสต์เฟซบุ๊กระบุว่า ลิซ ทรัสส์ นายกรัฐมนตรีอังกฤษอยู่ในตำแหน่งได้เพียง 49 วันก็ลาออก เพราะวิกฤตความเชื่อถือ คุณเศรษฐาครับ ลาออกเถิดครับ ผมแนะนำด้วยความหวังดี พรรคเพื่อไทยและพรรคร่วมจะได้เดินหน้าต่อไปครับ

การลาออกน่าจะเป็นผลดีต่อ

1.พรรคเพื่อไทยและพรรคร่วม เพราะยังจะจับมือกันเป็นรัฐบาลอยู่ต่อไปได้ เพียงเปลี่ยนหัวเท่านั้น
2.ดีต่อระบบรัฐสภาเอง เพราะเปลี่ยนรัฐบาลได้ตามกลไกรัฐสภา เท่ากับรักษาและส่งเสริมให้ระบบรัฐสภาลงหลักปักฐาน
3.ดีต่อความคาดหวังของประชาชนที่อยู่ในกลุ่มที่มีวิกฤตเศรษฐกิจรุนแรง
4.เป็นตัวอย่างที่ดีให้นายกรัฐมนตรีรุ่นต่อๆ ไป

เพิ่มเพื่อน

ข่าวที่เกี่ยวข้อง

ดิจิทัล วอร์รูม เตือนภัยฝ่าน้ำท่วม-ดินโคลนถล่ม

ภาคเหนือเผชิญอุทกภัยรุนแรง โดยเฉพาะที่ อ.แม่สาย น้ำท่วมตัวเมือง มีน้ำป่าไหลทะลักลงตามแม่น้ำสาย ทำให้บ้านเรือน ร้านค้า ตลาดสด พื้นที่เกษตรที่ติดลำน้ำสายได้รับความเสียหายอย่างหนัก ปัจจุบันแม้น้ำแห้งแล้วแต่ประชาชนยังจมโคลนจมฝุ่นต้องการการช่วยเหลือ ฟื้นฟู เยียวยาจากปัญหาที่น้ำท่วมได้ทิ้งไว้ตามบ้านเรือนของประชาชนและสถานที่ต่างๆ  

เทียบหนังสือ 'อ.พวงทอง' ปชต.เป็นข้ออ้างที่จะเข้าแทรกแซงความมั่นคงภายในประเทศอื่น

ศ.ดร.ไชยันต์ ไชยพร อาจารย์ประจำภาควิชาการปกครอง คณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย โพสต์เฟซบุ๊กว่า

'ไชยันต์' ตั้งปุจฉา 'ไม่มีสมบูรณาญาสิทธิราชก่อนเปลี่ยนแปลงการปกครอง'

ศ.ดร.ไชยันต์ ไชยพร อาจารย์ภาควิชาการปกครอง คณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย โพสต์ข้อความผ่านเฟซบุ๊กว่า ไม่มีสม

เปิดคำวินิจฉัยส่วนตน ประธานศาลรธน. 1 ใน 4 ตุลาการ : ความเป็นรมต.ของ 'เศรษฐา' ไม่สิ้นสุดลง

สืบเนื่องจาก ศาลรัฐธรรมนูญมีมติ 5 ต่อ 4 วินิจฉัยว่า ความเป็นรัฐมนตรีของนายเศรษฐา ทวีสิน สิ้นสุดลงเฉพา