ย้อนประวัติศาสตร์! 'เพลงสรรเสริญพระบารมี' ในเหตุการณ์ 14 ตุลา

23 ม.ค. 2566 – พล.ท.นันทเดช เมฆสวัสดิ์ อดีตหัวหน้าศูนย์ปฏิบัติการพิเศษ ศูนย์รักษาความปลอดภัยแห่งชาติ (ศรภ.) โพสต์ข้อความผ่านเฟซบุ๊กว่า ความสำคัญของ เพลงสรรเสริญพระบารมี กับ สังคมไทย (ตอนที่ 2)

งาน “ยอยศยิ่งฟ้า มรดกโลก” ที่อยุธยา ในวันแรกไม่ยอมเปิดเพลงสรรเสริญพระบารมี โดนกลุ่มคนรักอยุธยา คนรักในหลวง ออกมากดดัน

เจ้าของปางช้างก็จะไม่เอาช้างมาร่วมแสดง ถ้าไม่เปิดเพลงสรรเสริญพระบารมี ดังนั้น ในวันต่อมาจึงมีการเปิดเพลงฯ … งานระดับนี้ควรมีใครรับผิดชอบเรื่องแบบนี้หรือไม่

ขอนำเรื่องนี้มาโพสต์ต่อไว้ เพื่อต้องการแสดงให้เห็นว่า เพลงสรรเสริญพระบารมี มีความสำคัญต่อสังคมไทยอย่างไร

พวกเราควรดูแล ให้ดีกว่านี้

1.ตอนแรก : ของเรื่องนี้ที่โพสต์ไปแล้ว เมื่อ 8 มกราคม 2566 กล่าวถึงกรณีที่ น.ส.จิรนันท์ พิตรปรีชา ได้นำร้องเพลงสรรเสริญพระบารมี จนสามารถยุติการเตรียมเข้าปะทะ ระหว่างกลุ่มประชาชน นิสิตนักศึกษา กับ เจ้าหน้าที่ตำรวจได้

(ดูข้อสุดท้ายในภาพ)

2.ตอนที่ 2 : จะกล่าวถึงความสำคัญของเพลงสรรเสริญพระบารมีในเหตุการณ์ 14 ตุลา 16 ที่เกิดขึ้นหลายตอนตามภาพที่แนบมาครับ

ยังมีตอนที่ 3 อีกครับ (ข้อมูลมาจากหนังสือผ่านฟ้าลีลาศ).

เพิ่มเพื่อน

ข่าวที่เกี่ยวข้อง

ไม่ทิ้งใครไว้ข้างหลัง ! “ไชยชนก” นำคณะล่องเรือแม่น้ำน้อยช่วยเหลือชาวบ้านกลุ่มผู้เปราะบาง ให้กำลังใจ ชาวผักไห่ จ.อยุธยา

12 ตุลาคม 2567 เมื่อช่วงบ่ายที่ผ่านมา นายไชยชนก ชิดชอบ เลขาธิการพรรคภูมิใจไทย พร้อมด้วยคณะกรรมการบริหารพรรค อาทิ นายภราดร ปริศนานันทกุล รองประธานสภา คนที่

'ไชยชนก' ลุยเสนา อยุธยา พร้อมกรรมการบริหารพรรค ลงพื้นที่ให้กำลังใจ รับฟังปัญหาและแนวทางแก้ปัญหา

นายไชยชนก ชิดชอบ เลขาธิการพรรคภูมิใจไทย พร้อมด้วยคณะกรรมการบริหารพรรคภูมิใจไทย อาทิ นายภราดร ปริศนานันทกุล รองประธานสภา คนที่ 1นายสุรศักดิ์ พันธ์เจริญวรกุล รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงศึกษาธิการ, นางสาวพิมพฤดา ตันจรารักษ์ สส.เขต3 จ.พระนครศรีอยุธยา และ นายประดิษฐ์ สังขจาย สส.จ.อยุธยา เขต 5 นายกรวีร์ ปริศนานันทกุล สส.อ่างทองเขต 2, นายธนยศ ทิมสุวรรณ สส.เลยเขต 3 รวมทั้งหน่วยงานราชการ นางสมทรง พันธ์เจริญวรกุล นากยก อบจ.,นายนิวัฒน์ รุ่งสาคร ผู้ว่าราชการจังหวัดพระนครศรีอยุธยา ลงพื้นที่ติดตามสถานการณ์น้ำท่วม

'เขื่อนเจ้าพระยา' ลดระบายน้ำต่อเนื่อง พื้นที่ลุ่มต่ำ 4 จ. ท่วมน้อยลง

แม่น้ำเจ้าพระยาที่ไหลผ่าน จ.นครสวรรค์ และแม่น้ำสะแกกรัง จ.อุทัยธานี มีปริมาณลดลงต่อเนื่อง ส่งผลให้ปริมาณน้ำด้านเหนือเขื่อนเจ้าพระยา จ.ชัยนาท

'เขื่อนเจ้าพระยา' ระบายน้ำเพิ่มอีก 2 พันลบ.ม. ท่วมพื้นที่ลุ่มต่ำ 3 จังหวัด

หลังจากที่เขื่อนเจ้าพระยาได้ระบายน้ำในอัตรา 1,899 ลูกบาศก์เมตรต่อวินาที ติดต่อกัน 6 วัน และได้มีการปรับเพิ่มระบายน้ำแบบขั้นบันได