เผ่าพันธุ์สลิ่ม โต้เดือด เผ่าพันธุ์สามกีบ

12 พ.ย.2565 - เอ็ดดี้ อัษฎางค์ ยมนาค นักวิชาการอิสระ โพสต์ข้อความบนเฟซบุ๊กว่า สามกีบคือเผ่าพันธุ์ที่ …เกลียดเมืองไทยแต่ยังอยู่เมืองไทย รักอเมริกา เกลียดจีน แต่ยังหากินอยู่กับจีน เกลียดทหารและเรียกร้องให้ยกเลิกการเกณฑ์ทหาร แต่สมัครไปเป็นทหารยูเครน ต่อต้าน 112 ซึ่งเป็นกฎหมายห้ามดูหมิ่นเหยียดหยามแต่ยังฟ้องคดีผู้อื่นที่ดูหมิ่นเหยียดหยามตัวเอง คนไทยยิ้มเพราะไม่มีจุดยืนอะไรเลย แต่ตัวเองก็ยังยิ้ม ไม่เชื่อว่าการกราบไว้บูชาจะนำมาสู่ความสำเร็จ แต่ตัวเองยังคงกราบไว้บูชา มีอะไรอีก ช่วยกันเติมลงในคอมเมนท์ให้จานข้าวหมาหน่อยจ้า

ก่อนหน้านี้ ดร.เจษฎา เด่นดวงบริพันธ์ อาจารย์ประจำภาควิชาชีววิทยา คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาฯ โพสต์ข้อความบนเฟซบุ๊กว่า สลิ่ม คือเผ่าพันธุ์ที่เกลียดอเมริกา รักจีน , เกลียดยูเครน รักปูติน , เกลียดไฮเปอร์ลูป รักรถไฟมือสอง

เพิ่มเพื่อน

ข่าวที่เกี่ยวข้อง

สงสัย 'อเมริกา' คือจุดเริ่มต้นการชุมนุมของนิสิตนักศึกษาเดือนตุลาถึงขบวนการสามกีบหรือไม่?

อัษฎางค์ ยมนาค นักวิชาการอิสระ โพสต์เฟซบุ๊ก ว่า สหรัฐอเมริกา(ผู้รักษาสันติภาพ ที่ทำลายสันติภาพ) คือจุดเริ่มต้นการชุมนุม

‘อัษฎางค์’ ถาม ทำไมพรรคเพื่อไทย ใช้เด็กฝึกงานมาเป็นผู้นำประเทศ

การใช้ อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์เช่น iPad ในการเจรจาทางการทูต ไม่ได้แสดงถึงความทันสมัยและการเปิดรับเทคโนโลยี แต่เป็นภาพลักษณ์ที่อาจถูกตีความในเชิงลบ

'ชาวสลิ่ม' แห่ให้กำลัง 'ดร.เสรี' หลังประกาศวางมือ เลิกอุ้ม เลิกแบก!

จากกรณี ดร.เสรี วงษ์มณฑา นักวิชาการด้านการตลาดและการสื่สาร โพสต์เฟซบุ๊กระบุว่า ขอตัดคำว่า อุ้ม แบก เชียร์ ออกจากพจนานุกรมชีวิต ในการทำรายการทีวี และการเขียนบทความทาง นสพ.พอกันที

'อ.เจษฎา' ให้ข้อมูลละเอียดยิบ ทำไมเรียกชื่อ 'ปลาหมอคางดำ ไม่ใช่ 'ปลานิลคางดำ'

ดร.เจษฎา เด่นดวงบริพันธ์ อาจารย์ประจำภาควิชาชีววิทยา คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย โพสต์ข้อความผ่านเฟซบุ๊ก ระบุว่า ทำไมเรียก ปลาหมอ(สี)คางดำ ... ไม่เรียก ปลานิลคางดำ"

'อ.เจษฎา' ไขข้อข้องใจ 'ไข่ปลาหมอคางดำ' ตากแดด 2 เดือน ยังฟักเป็นตัวได้

ดร. เจษฎา เด่นดวงบริพันธ์ อาจารย์ประจำภาควิชาชีววิทยา คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย โพสต์ข้อความผ่านเฟซบุ๊ก ระบุว่า

พบ 'ปลาหมอคางดำ' หลากสี คาดเป็นตัวผู้ช่วงฤดูผสมพันธุ์ เจอแบบนี้ก็ต้องกำจัด

รศ.ดร.เจษฎา เด่นดวงบริพันธ์ อาจารย์ประจำภาควิชาชีววิทยา คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย โพสต์ข้อความผ่านเฟซบุ๊กว่า "ปลาหมอคางดำ" ที่สีสวยๆ ก็มีนะครับ อย่าคิดแต่ว่าจะต้องดูสีตุ่นๆ คล้ายปลานิลเท่านั้น