อัษฎางค์เดือด! บอกอ่านบทความของ 'ปิยบุตร' แล้วคิดว่าป่วยทางจิตอย่างแรง มั่วนิ่มเรื่องรัฐธรรมนูญญี่ปุ่นกับรัฐธรรมนูญไทย
05 พ.ค.2565 - นายอัษฎางค์ ยมนาค นักวิชาการอิสระ โพสต์เฟซบุ๊กว่า อ่านบทความของไอ้ปิยบุตร ผม”อุทานในใจ” ย้ำว่า”ในใจ” ไอ้นี่มันบ้า ป่วยทางจิตอย่างแรงส์
เขาบอกว่า เขาจะใช้ตามรัฐธรรมนูญของญี่ปุ่นเรื่องการจำกัดพระราชอำนาจของพระมหากษัตริย์ มาเสนอกับรัฐสภาไทย แต่ข้อเสนอของเขาทุกข้อ ถูกกำหนดไว้ในรัฐธรรมนูญไทยทุกฉบับ ซึ่งรวมทั้งฉบับปัจจุบันด้วย
แล้ว…รัฐธรรมนูญฉบับปิยบุตรมันมีอะไรใหม่ตรงไหน ลอกรัฐธรรมนูญของไทยในหมวดที่เกี่ยวกับพระราชอำนาจของพระมหากษัตริย์มาทั้งดุ้น แล้วบอกว่านี่คือรัฐธรรมนูญการจำกัดพระมหากษัตริย์ของญี่ปุ่น ที่จะเอามาเป็นต้นแบบให้กับไทย คนเชื่อมันคงโง่และบ้ากว่ามันอีกมาก
ข่าวที่เกี่ยวข้อง
แก้วสรร : หลักคิดทางกฎหมายเรื่องอำนาจบริหารโทษของราชทัณฑ์
นายแก้วสรร อติโพธิ นักวิชาการอิสระ อดีตรองอธิการบดี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ อดีตคณะกรรมการตรวจสอบการกระทำที่ก่อให้เกิดความเสียหายแก่รัฐ (คตส.)
ดร.ณัฏฐ์ ชี้ชัด 'ประชามติชั้นเดียว' แค่ยกแรก 'แก้รธน.ทั้งฉบับ' เจอด่านหิน-นโยบายขายฝัน!
“ดร.ณัฏฐ์” มือกฎหมายมหาชน ชี้ กลไกแก้ไขรัฐธรรมนูญทั้งฉบับผ่านด่านหินยาก แม้เพื่อไทยใช้เทคนิคช่องทางพ้น 180 วัน ผ่านร่าง พรบ.ประชามติ เป็นเพียงนโยบายในฝัน
“พิพัฒน์” เยือนญี่ปุ่น ถกรัฐมนตรีแรงงาน นายจ้างญี่ปุ่นต้องการแรงงานทักษะ16 สาขา 820,000คน ที่แรกกรุงโตเกียว
วันที่ 19 ธันวาคม 2567 นายพิพัฒน์ รัชกิจประการ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงแรงงาน พร้อมด้วย นายบุญสงค์ ทัพชัยยุทธ์ ปลัดกระทรวงแรงงาน ผู้บริหารกระทรวงแรงงานเข้าพบเข้าพบ Mr. Takamaro FUKUOKA
'แก้วสรร' แพร่บทความ 'อนาคตรัฐบาลชินวัตร 4 ใต้กรอบกฎหมายไทย'
นายแก้วสรร อติโพธิ วิชาการอิสระ อดีตรองอธิการบดี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ อดีตคณะกรรมการตรวจสอบการกระทำที่ก่อให้เกิดความเสียหายแก่รัฐ (คตส.) ออกบทความเรื่อง "อนาคตรัฐบาลชินวัตร 4 ใต้กรอบกฎหมายไทย"
'บิ๊กอ้วน' ชี้ 'สนธิ' แค่หนึ่งเสียงการบริหารประเทศไม่ควรโฟกัสแค่คนคนเดียว!
'ภูมิธรรม' ยังไม่เห็นข้อเรียกร้อง 'สนธิ' บอกเป็นแค่ความเห็นหนึ่งต้องรับฟังทุกฝ่าย เปรียบเหมือนมองปี๊บหนึ่งใบ ต้องมองให้รอบด้าน ไม่หมิ่นประมาทม็อบจุดติดหรือไม่
ดร.ณัฏฐ์ ชำแหละ 92 ปีรัฐธรรมนูญ วัฏจักรการแย่งชิงอำนาจ!
ดร.ณัฏฐ์ วงศ์เนียม ระบุครบรอบ 92 ปีวันรัฐธรรมนูญ ยังวนเวียนอยู่กับวัฏจักรการแย่งชิงอำนาจของนักการเมือง มากกว่าคุ้มครองสิทธิเสรีภาพของประชาชน