ป้ายกำกับ :
๑๔ ตุลาฯ
๑๔ ตุลาฯ ที่เกิดขึ้นก่อน ๑๔ ตุลาฯ (ตอนที่ ๒๙)
เค้าโครงเศรษฐกิจของหลวงประดิษฐ์มนูธรรมเป็นหนึ่งในปัญหาที่เป็นสาเหตุให้คณะกู้บ้านกู้เมืองที่นำโดยพระองค์เจ้าบวรเดชยื่นเงื่อนไขเรียกร้องหกข้อต่อรัฐบาลพันเอก
๑๔ ตุลาฯ ที่เกิดขึ้นก่อน ๑๔ ตุลาฯ (ตอนที่ ๒๘)
ก่อนหน้าที่ที่ประชุมคณะรัฐมนตรีวันที่ ๒๘ มีนาคม พ.ศ. ๒๔๗๖ จะทำการประชุมพิจารณาและลงมติต่อเค้าโครงเศรษฐกิจของหลวงประดิษฐ์มนูธรรม
๑๔ ตุลาฯ ที่เกิดขึ้นก่อน ๑๔ ตุลาฯ (ตอนที่ ๒๗)
หลังจากที่ได้พิจารณาเค้าโครงเศรษฐกิจของหลวงประดิษฐ์มนูธรรมและพระบรมราชวินิจฉัยที่พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวมีต่อเค้าโครงเศรษฐกิจดังกล่าว
๑๔ ตุลาฯ ที่เกิดขึ้นก่อน ๑๔ ตุลาฯ (ตอนที่ ๒๖)
หลังจากที่ได้พิจารณาเค้าโครงเศรษฐกิจของหลวงประดิษฐ์มนูธรรมและพระบรมราชวินิจฉัยที่พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวมีต่อเค้าโครงเศรษฐกิจดังกล่าว ที่ประชุมคณะรัฐมนตรีวันที่ ๒๘ มีนาคม พ.ศ. ๒๔๗๖
๑๔ ตุลาฯ ที่เกิดขึ้นก่อน ๑๔ ตุลาฯ (ตอนที่ ๒๕)
หลังจากที่ได้พิจารณาเค้าโครงเศรษฐกิจของหลวงประดิษฐ์มนูธรรมและพระบรมราชวินิจฉัยที่พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวมีต่อเค้าโครงเศรษฐกิจดังกล่าว
๑๔ ตุลาฯ ที่เกิดขึ้นก่อน ๑๔ ตุลาฯ (ตอนที่ ๒๔)
ในการประชุมคณะรัฐมนตรีวันที่ ๒๘ มีนาคม พ.ศ. 2476 ได้มีการพิจารณาเค้าโครงเศรษฐกิจของหลวงประดิษฐ์มนูธรรมในฐานะที่เป็นร่างนโยบายเศรษฐกิจแห่งชาติ
๑๔ ตุลาฯ ที่เกิดขึ้นก่อน ๑๔ ตุลาฯ (ตอนที่ ๒๓)
ในเค้าโครงเศรษฐกิจ หลวงประดิษฐ์มนูธรรมใช้คำว่า parasite หรือพวกหนักโลก โดยเขากล่าวว่า “ในประเทศไทยนี้มีบุคคลที่เกิดมาหนักโลกอาศัยบุคคลอื่นกินมีจำนวนไม่น้อย กล่าวคือ ตนไม่เป็นผู้ประกอบการเศรษฐกิจ หรือกิจการใดให้เหมาะสมกับแรงงานของคน อาศัยอาหาร เครื่องนุ่งห่ม
๑๔ ตุลาฯ ที่เกิดขึ้นก่อน ๑๔ ตุลาฯ (ตอนที่ ๒๒)
ในวันที่ ๒๘ มีนาคม ๒๔๗๖ ที่ประชุมคณะรัฐมนตรีได้มีการพิจารณาเค้าโครงเศรษฐกิจของหลวงประดิษฐ์มนูธรรม และได้มีการนำพระบรมราชวินิจฉัยตอบเค้าโครงเศรษฐกิจของพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวมาอ่านในที่ประชุม
๑๔ ตุลาฯ ที่เกิดขึ้นก่อน ๑๔ ตุลาฯ (ตอนที่ ๒๑)
ในสามตอนที่ผ่านมาผู้เขียนได้กล่าวเทียบเคียงแนวคิดเรื่อง parasite (หรือที่หลวงประดิษฐ์มนูธรรมเรียกว่า “พวกหนักโลก”) ของชาร์ล ฟูริเยต์นักคิดสังคมนิยมยุคแรกเริ่มกับของมาร์กซและเอ็งเงิลส์
๑๔ ตุลาฯ ที่เกิดขึ้นก่อน ๑๔ ตุลาฯ (ตอนที่ ๒๐)
ในเดือนมีนาคม พ.ศ. 2476 ในเค้าโครงเศรษฐกิจ หลวงประดิษฐ์ฯได้กล่าวว่า “.. เราเกลียดชังลัทธิคอมมิวนิสต์ตามที่ท่านนักปราชญ์ในประเทศไทยท่านกล่าวนั้น และเราไม่ดำเนินวิธีริบทรัพย์มาแบ่งกันดังที่นักปราชญ์ท่านกล่าว”
๑๔ ตุลาฯ ที่เกิดขึ้นก่อน ๑๔ ตุลาฯ (ตอนที่ ๑๙)
ในเค้าโครงเศรษฐกิจ หลวงประดิษฐ์มนูธรรมใช้คำว่า “พวกหนักโลก (social parasite)” อยู่หลายครั้ง ผู้คุ้นเคยกับแนวความคิดของสองนักคิดผู้ให้กำเนิดลัทธิคอมมิวนิสต์อย่างมาร์กซและเอ็งเงิลส์ (Marx and Engels)
๑๔ ตุลาฯ ที่เกิดขึ้นก่อน ๑๔ ตุลาฯ (ตอนที่ ๑๘)
ในตอนที่แล้ว ผู้เขียนได้ชี้ให้เห็นว่าคำว่า “พวกหนักโลก (social parasite)” ที่หลวงประดิษฐ์มนูธรรมใช้ในเค้าโครงเศรษฐกิจนั้น สามารถพบได้เป็นจำนวนมากในงานเขียนของคาร์ล มาร์กซ และ ฟรีดริช เอ็งเงิลส์ (Karl Marx และ Friedrich Engels) สองนักคิดชาวเยอรมันผู้ให้กำเนิดลัทธิคอมมิวนิสม์
๑๔ ตุลาฯ ที่เกิดขึ้นก่อน ๑๔ ตุลาฯ (ตอนที่ ๑๗)
ในเค้าโครงเศรษฐกิจ หลวงประดิษฐ์มนูธรรมได้ใช้คำว่า “พวกหนักโลก” และวงเล็บว่า “social parasite” และเขาได้อธิบายว่า “ในประเทศไทยนี้ มีบุคคลที่เกิดมาหนักโลก อาศัยบุคคลอื่นกินมีจำนวนไม่น้อย
๑๔ ตุลาฯ ที่เกิดขึ้นก่อน ๑๔ ตุลาฯ (ตอนที่ ๑๖)
ตอนที่แล้ว ได้กล่าวถึงข้อความบางตอนในเค้าโครงเศรษฐกิจของหลวงประดิษฐ์มนูธรรมที่กล่าวพาดพิงถึงกลุ่มคนในสังคมไทยว่าเป็น “พวกหนักโลก” โดยหลวงประดิษฐ์ฯได้วงเล็บภาษาอังกฤษ
๑๔ ตุลาฯ ที่เกิดขึ้นก่อน ๑๔ ตุลาฯ (ตอนที่ ๑๕)
ในตอนที่ผ่านมา ผู้เขียนได้กล่าวถึงความขัดแย้งที่เกิดขึ้นจากความเห็นต่างในเค้าโครงเศรษฐกิจที่หลวงประดิษฐ์มนูธรรมร่างขึ้นเพื่อหวังจะให้เป็นนโยบายเศรษฐกิจแห่งชาติ
๑๔ ตุลาฯ ที่เกิดขึ้นก่อน ๑๔ ตุลาฯ (ตอนที่ ๑๔)
สาเหตุประการหนึ่งที่คณะกู้บ้านกู้เมือง (กบฏบวรเดช) ต้องยื่นข้อเรียกร้องต่อรัฐบาลพันเอก พระยาพหลพลพยุหเสนาในเดือนตุลาคม พ.ศ. ๒๔๗๖ คือ คณะกู้บ้านกู้เมืองไม่มั่นใจว่ารัฐบาลจะมีระบอบพระมหากษัตริย์ภายใต้รัฐธรรมนูญเป็นเป้าหมาย
๑๔ ตุลาฯ ที่เกิดขึ้นก่อน ๑๔ ตุลาฯ (ตอนที่ ๑๓)
สาเหตุประการหนึ่งที่คณะกู้บ้านกู้เมือง (กบฏบวรเดช) ต้องยื่นข้อเรียกร้องต่อรัฐบาลพันเอก พระยาพหลพลพยุหเสนาในเดือนตุลาคม พ.ศ. ๒๔๗๖ คือ
๑๔ ตุลาฯ ที่เกิดขึ้นก่อน ๑๔ ตุลาฯ (ตอนที่ ๑๒)
คณะกู้บ้านกู้เมือง (กบฏบวรเดช) ได้ยื่นข้อเรียกร้อง ๖ ข้อต่อรัฐบาลพันเอก พระยาพหลพลพยุหเสนา หนึ่งในนั้นคือ ต้องการให้รัฐบาล “ต้องจัดการทุกอย่างที่จะอำนวยผลให้ประเทศสยามมีพระมหากษัตริย์ปกครองภายใต้รัฐธรรมนูญชั่วกัลปวสาน”
๑๔ ตุลาฯ ที่เกิดขึ้นก่อน ๑๔ ตุลาฯ (ตอนที่ ๑๑)
คณะกู้บ้านกู้เมือง (กบฏบวรเดช) ได้ยื่นข้อเรียกร้อง ๖ ข้อต่อรัฐบาลพันเอก พระยาพหลพลพยุหเสนา หนึ่งในนั้นคือ ต้องการให้รัฐบาล
๑๔ ตุลาฯ ที่เกิดขึ้นก่อน ๑๔ ตุลาฯ (ตอนที่ ๑๐)
คณะกู้บ้านกู้เมือง (กบฏบวรเดช) ได้ยื่นข้อเรียกร้อง ๖ ข้อต่อรัฐบาลพันเอก พระยาพหลพลพยุหเสนา หนึ่งในนั้นคือ ต้องการให้รัฐบาล “ต้องจัดการทุกอย่างที่จะอำนวยผลให้ประเทศสยามมีพระมหากษัตริย์ปกครองภายใต้รัฐธรรมนูญชั่วกัลปวสาน”