ป้ายกำกับ :
ไม่เคืองแค้นเสียดาย
ประเพณีการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข (๒): ว่าด้วยผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ในรัฐธรรมนูญ จาก พ.ศ. ๒๔๗๕-ปัจจุบัน 'อำนาจการแต่งตั้งผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์'
หลังจากตอนที่ ๑ ได้ตีพิมพ์เผยแพร่ออกไป มีผู้อ่านคือ คุณ Manit Sriwanichpoom ให้ความเห็นมาว่า “หากมองความเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นในรธน.60 จะเห็นว่าบทบาทตัวแทนประชาชนผ่านรัฐสภากับสถาบันกษัตริย์ได้ถูกลดทอนลงไปจากรธน.ฉับก่อนๆ ในแง่นี้จำเป็นหรือไม่ที่เรื่องควรผ่านความเห็นชอบของสภาก่อน ถ้าจำไม่ผิดมาตรานี้ได้ถูกเปลี่ยนแปลงเนื้อหาหลังจากรธน.60 ผ่านการลงประชามติของประชาชนแล้ว
ประเพณีการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข (๑): ว่าด้วยผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ในรัฐธรรมนูญ จาก พ.ศ. ๒๔๗๕-ปัจจุบัน
ในรัฐธรรมนูญฉบับชั่วคราว พ.ศ. ๒๕๕๗ (ฉบับที่ ๔) วันที่ ๑๕ มกราคม พ.ศ. ๒๕๖๐ มีการแก้ไขเพิ่มเติมที่เกี่ยวข้องกับการแต่งตั้งผู้สำเร็จราชการดังนี้คือ ในมาตรา ๓ ให้เพิ่มความต่อไปนี้เป็นวรรคสามของมาตรา ๒ ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (ฉบับชั่วคราว) พุทธศักราช ๒๕๕๗ และข้อความที่ให้เพิ่มเติมคือ “
ว่าด้วยผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ตามประเพณีการปกครองของอังกฤษ (ตอนที่ ๙)
ที่ผ่านมา ผู้เขียนได้กล่าวถึง พ.ร.บ. ผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ของอังกฤษ และขยายความเกี่ยวกับเงื่อนไขที่องค์พระประมุข “ทรงบริหารพระราชภารกิจไม่ได้” โดยเงื่อนไขหลักได้แก่ ไม่ทรงประทับอยู่ในราชอาณาจักร, ทรงพระประชวร, ทรงพระเยาว์ เป็นต้น และผู้เขียนได้ย้ำและให้ตัวอย่างต่างๆในกรณีของอังกฤษที่ชี้ว่า แม้ว่าเจตนารมณ์ของ พ.ร.บ. จะมุ่งให้ครอบคลุมเงื่อนไขต่างๆ
ว่าด้วยผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ตามประเพณีการปกครองของอังกฤษ (ตอนที่ ๘)
ในกรณีของอังกฤษและรวมถึงประเทศอื่นๆที่มีสถาบันพระมหากษัตริย์ ไม่ว่าจะเป็นระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์หรือระบอบพระมหากษัตริย์ภายใต้รัฐธรรมนูญ เงื่อนไขสำคัญประการหนึ่งในการแต่งตั้งผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์คือ การแต่งตั้งผู้ที่อยู่ในอันดับแรกที่จะสืบราชสันตติวงศ์
ว่าด้วยผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ตามประเพณีการปกครองของอังกฤษ (ตอนที่ ๗)
ในอังกฤษ มีการออกพระราชบัญญัติว่าด้วยผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ครั้งแรกในปี ค.ศ. ๑๙๓๗ (the Regency Act 1937) ต่อมาแก้ไขเพิ่มเติมในปี ค.ศ. ๑๙๔๓ และ ค.ศ. ๑๙๕๓ ที่เป็นเช่นนั้น ก็เพราะว่า พ.ร.บ. ที่ออกมาครั้งแรกไม่สามารถตอบโจทย์หรือสถานการณ์จริงที่เกิดขึ้น
ว่าด้วยผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ตามประเพณีการปกครองของอังกฤษ (ตอนที่ ๕)
ในการแก้ไขปัญหาที่อาจเกิดขึ้นจากการที่องค์พระมหากษัตริย์จะทรงบริหารพระราชภารกิจไม่ได้ (royal incapacity) อังกฤษได้ออกกฎหมายที่มีเจตนารมณ์ที่จะครอบคลุมกรณีต่างๆที่พระมหากษัตริย์จะทรงบริหารพระราชภารกิจไม่ได้ที่เคยเกิดขึ้นมาแล้วในอดีตและรวมทั้งในกรณีที่อาจเกิดขึ้นได้ในอนาคต กฎหมาย ฉบับนี้คือ พระราชบัญญัติว่าด้วยการแต่งตั้งผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ ค.ศ. ๑๙๓๗ (The Regency Act 1937) สาระสำคัญของ พ.ร.บ. ว่าด้วยการแต่งตั้งผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ ค.ศ. ๑๙๓๗ มีสามประการ เริ่มต้นจาก
ว่าด้วยผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ตามประเพณีการปกครองของอังกฤษ (ตอนที่ ๓)
ประเพณีการปกครองในการแต่งตั้งผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ในอังกฤษเพิ่งเริ่มมีความชัดเจนในศตวรรษที่ยี่สิบ เริ่มต้นจากปี ค.ศ. ๑๙๑๑ ก่อนที่สมเด็จพระเจ้าจอร์จที่ห้าจะทรงเสด็จเยือนอินเดีย พระองค์ได้ทรงแต่งตั้งสภาผู้สำเร็จราชการแผ่นดินด้วยเหตุผลที่ว่าพระองค์จะมิทรงประทับอยู่ในราชอาณาจักร และจากกรณีการแต่งตั้งสภาผู้สำเร็จราชการแผ่นดินในปี ค.ศ. ๑๙๑๑ นี้เองจึงเป็นที่มาของแบบแผนปฏิบัติในเวลาต่อมา นั่นคือ ในปี ค.ศ. ๑๙๒๕
ว่าด้วยผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ตามประเพณีการปกครองของอังกฤษ (ตอนที่ ๒)
ผู้ที่เป็นนักกฎหมายที่เคร่งครัดในหลักการทฤษฎีย่อมต้องตั้งข้อสงสัยต่อความชอบธรรมของกระบวนการแก้ไขวิกฤตดังกล่าว นั่นคือ คณะรัฐมนตรีและรัฐสภาใช้อำนาจแทนพระราชอำนาจขององค์พระมหากษัตริย์ได้อย่างไร ? ส่วนฝ่ายที่เน้นผลสัมฤทธิ์ย่อมอธิบายว่า ย่อมทำได้เพื่อหาทางออกเมื่อสถานการณ์จำเป็น !
ว่าด้วยผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ตามประเพณีการปกครองของอังกฤษ (ตอนที่ ๑)
สถาบันพระมหากษัตริย์ของอังกฤษมีพระราชภารกิจต่างๆตามกฎหมาย (legal duties) ที่ต้องปฏิบัติ รวมทั้งการปฏิบัติพระราชภารกิจในพระราชพิธีต่างๆ (ceremonial) และการเป็นตัวแทนของประเทศในตำแหน่งประมุขของรัฐ ซึ่งในกรณีของการเป็นตัวแทน
วิเคราะห์การตัดสินยุบพรรคอนาคตใหม่จากมุมมองทางรัฐศาสตร์ ? (ตอนที่แปด)
การแก้ปัญหาความไม่สุจริตทางการเงินและการรวมศูนย์อำนาจภายในพรรคการเมืองก็คงไม่ต่างจากการแก้ปัญหาทุจริตในการเลือกตั้ง นั่นคือ จะต้องมีการแก้ไขปรับปรุงกฎหมายให้มีประสิทธิภาพและเท่าทันต่อพฤติกรรมการฉ้อฉลของนักการเมืองอยู่ตลอดเวลา อย่างเช่นในเรื่องการทุจริตซื้อเสียงเลือกตั้ง มีนักการเมืองไทยจำนวนไม่น้อยให้ความเห็นว่า การซื้อขายเสียงในการเลือกตั้งของไทยเรานั้นถือเป็นลักษณะโดดเด่นและเป็นวัฒนธรรมที่คงแก้ไม่ได้
วิเคราะห์การตัดสินยุบพรรคอนาคตใหม่จากมุมมองทางรัฐศาสตร์ ? (ตอนที่เจ็ด)
ต่อกรณีพรรคอนาคตใหม่ ในฐานะนักรัฐศาสตร์ที่ไม่รู้เรื่องนิติศาสตร์ ผู้เขียนเห็นว่า การกู้ยืมเงินหัวหน้าพรรคเป็นจำนวนมากขนาดนั้น (191,200,000 บาท) จากบุคคลคนเดียวซึ่งเป็นหัวหน้าพรรคและเป็นแหล่งทุนสำคัญของพรรคเป็นสิ่งที่ไม่ถูกต้องและรับไม่ได้ตามหลักการที่ไม่ต้องการให้เกิดเงื่อนไขของการครอบงำในพรรคการเมือง
วิเคราะห์การตัดสินยุบพรรคอนาคตใหม่จากมุมมองทางรัฐศาสตร์ ? (ตอนที่หก)
ที่ผ่านมาห้าตอน ผู้เขียนได้ชี้ให้เห็นถึงสาเหตุของการยุบพรรคอนาคตใหม่ เพราะการกู้ยืมเงินหัวหน้าพรรคเป็นจำนวนมากถึง 191,200,000 บาท ขัดกับบทบัญญัติรัฐธรรมนูญ พ.ศ. 2560 มาตรา ๔๕ ที่มี “ความมุ่งหมายเพื่อรับรองเสรีภาพในการจัดตั้งพรรคการเมืองโดยกำหนดกรอบของกฎหมายเกี่ยวกับ
ใครปล่อยข่าวลือว่า พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวปกครองด้วยระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์ ?
(ข้อเขียนนี้เป็นตอนที่เจ็ดต่อจากตอนแรก “การซุบซิบ ข่าวลือ ข่าวลวงและเสรีภาพ” และตอนที่สอง “พ.ศ. 2408: มีคนปล่อยข่าวลือว่ารัชกาลที่สี่เป็นกษัตริย์สมบูรณาญาสิทธิราชย์”
พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวกับการปฏิเสธสมบูรณาญาสิทธิราชย์
(ข้อเขียนนี้เป็นตอนที่หกต่อจากตอนแรก “การซุบซิบ ข่าวลือ ข่าวลวงและเสรีภาพ” และตอนที่สอง “พ.ศ. 2408: มีคนปล่อยข่าวลือว่ารัชกาลที่สี่เป็นกษัตริย์สมบูรณาญาสิทธิราชย์”