ป้ายกำกับ :
เทวัญ อุทัยวัฒน์
หน้าที่พลเมืองในการแก้ปัญหาของประเทศ
ประเทศของเรากำลังเผชิญกับปัญหาและความท้าทายหลายประการทั้งในเชิงโครงสร้างและปัญหาอื่นๆที่สะสมมายาวนานไม่ว่าจะเป็นเรื่องของหนี้ภาคครัวเรือน ความสามารถด้านการแข่งขัน การขาดนวัตกรรมและสภาพคล่องของเอสเอ็มอี การเข้าสู่สังคมสูงวัยแบบสมบูรณ์ การทุจริตคอร์รัปชัน
ESG และ NET ZERO ในบริบทของกลุ่มเปราะบางในประเทศไทย
ในช่วงปีที่ผ่านมาหลังวิกฤติด้านสาธารณสุขของโรคระบาดโควิด 19 ประเทศไทยเริ่มฟื้นตัวทางเศรษฐกิจและผู้คนจำนวนมากได้กลับสู่ชีวิตเป็นปรกติแม้จะมีส่วนหนึ่งที่ตัดสินใจเปลี่ยนแปลงชีวิตหน้าที่การงาน
สังคมไทยภายใต้กระบวน การยุติธรรมหลาย มาตรฐาน
ต้องยอมรับว่าหลายๆ ปรากฏการณ์ที่เกิดขึ้นในประเทศเราในช่วงไม่กี่ปีที่ผ่านมานั้นทำให้ระบบสังคมโดยเฉพาะระบบย่อยหลายระบบ เช่น เศรษฐกิจ ครอบครัว สาธารณสุข ความเชื่อและศาสนามีการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว การเจริญเติบโตด้านวัตถุ โครงสร้างพื้นฐาน เทคโนโลยี รถยนต์ไฟฟ้า หรือการนำปัญญาประดิษฐมาประยุกต์ใช้งานและธุรกิจต่างๆ
ความล้มเหลวของการศึกษาไทยสู่ปัญหาที่ขาดผู้รับผิดชอบ
ในแวดวงนักวิชาการด้านนโยบายสาธารณะต่างเห็นตรงกันว่าแนวทางการแก้ไขปัญหาความเหลื่อมล้ำในประเทศที่สำคัญลำดับต้นๆ คือการปฏิรูปการศึกษาอย่างจริงจังและต่อเนื่อง โดย รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2560 ในหมวด 5 หน้าที่ของรัฐ มาตรา 54 บัญญัติในสาระสำคัญว่า
การป้องกันการทุจริตเชิงนโยบายระดับท้องถิ่น
เมื่อวันที่ 4 สิงหาคมที่ผ่านมา สำนักงานป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติหรือ “ป.ป.ช.” โดยผู้เข้ารับการอบรมหลักสูตร “นักบริหารยุทธศาสตร์การป้องกันและปราบปรามการทุจริตระดับสูง’ (นยปส.) รุ่นที่ 14” รวม 85 คน จากแวดวงราชการและรัฐวิสาหกิจรวมถึงผู้แทนจากภาคประชาสังคมได้ร่วมกันจัดเวทีสัมมนาสาธารณะในหัวข้อ “ยุทธศาสตร์การป้องกันการทุจริตเชิงนโยบายระดับท้องถิ่น” โดยได้เชิญข้าราชการจากหน่วยงานต่างๆ นักวิชาการ ผู้แทนสมาคม มูลนิธิ สื่อมวลชน เข้าร่วมงานกว่า 400 คน
วาระประเทศไทยเรื่อง "การแก้ไขปัญหาการคอร์รัปชัน"
องค์กรเพื่อความโปร่งใสนานาชาติ (Transparency International หรือ TI) ได้ประกาศดัชนีการรับรู้การทุจริต (Corruption Perceptions Index หรือที่เรียกกันอย่างย่อว่า “CPI”) ประจำปี 2565 ของประเทศต่างๆรวม 180 ประเทศซึ่งถูกจัดอันดับดัชนีที่มีอิทธิพลต่อภาพลักษณ์การทุจริตคอร์รัปชัน
ข้อมูลส่วนบุคคลกับความเปลี่ยนแปลงทางสังคม
ในสถานการณ์การแพร่ระบาดของไวรัสโควิด 19 ในช่วงเกือบสองปีที่ผ่านมาและยังดำเนินต่อไปนั้น ต้องยอมรับว่าได้เกิดความเปลี่ยนแปลงทางสังคมในประเทศของเราและในหลายๆ ประเทศทั่วโลกอย่างมีนัยสำคัญโดยเฉพาะในเรื่องของสังคมที่มีปัจจัยที่เป็นตัวเร่งคือโรคระบาดและความรวดเร็วของการใช้เทคโนโลยีในการติดต่อสื่อสารที่มีชุดข้อมูลอยู่มากมายในโลกออนไลน์