ป้ายกำกับ :

สผ.

เปิดรายงานคุณภาพสิ่งแวดล้อมปี 67 ยังคงวิกฤต!

ร่างรายงานสถานการณ์คุณภาพสิ่งแวดล้อม  พ.ศ. 2567 สะท้อนให้เห็นสถานการณ์คุณภาพสิ่งแวดล้อมสาขาต่างๆ ของประเทศไทยในระหว่าง พ.ศ. 2566 – 2567 ปีล่าสุด หลายสาขามีความน่าวิตก ตั้งแต่การปลูกพืชเศรษฐกิจหลักในพื้นที่ที่ไม่เหมาะสม การตกค้างสารเคมีทางการเกษตรในดิน

นักวิชาการชี้โครงการ 'ผันน้ำยวม' มูลค่าแสนล้านเสี่ยงผิดกม. สร้างหนี้รัฐมหาศาล ไม่คุ้มค่า

กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ได้มีการประชุมคณะอนุกรรมการแก้ไขปัญหาผลกระทบจากโครงการพัฒนาของรัฐ ในส่วนที่เกี่ยวข้องกับกรมชลประทาน ซึ่งได้มีการรับฟังความคิดเห็นโครงการเพิ่มปริมาณน้ำต้นทุนให้เขื่อนภูมิพล แนวส่งน้ำยวม โดยมี ดร.ศิตางศุ์ พิลัยหล้า ที่ปรึกษารัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์

กองทุนภูมิอากาศไทย หนุนลดก๊าซ-ปรับตัวสู้โลกร้อน

เพื่อส่งเสริมความร่วมมือมุ่งสู่เป้าหมายความเป็นกลางทางคาร์บอนภายในปี 2593 ของประเทศไทย สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม (สผ.) โดยกองทุนสิ่งแวดล้อม ร่วมกับองค์กรความร่วมมือระหว่างประเทศของเยอรมัน (GIZ) จัดงานสัมมนาวิชาการกองทุนสิ่งแวดล้อม ประจำปี พ.ศ. 2566

‘กรมโลกร้อน’คอนมานโดสู้’โลกรวน’

ไทยติดอันดับ 1 ใน 10 ประเทศ ที่คาดว่าจะต้องเผชิญความเสี่ยง และได้รับผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ ทั้งอุณหภูมิร้อนขึ้น การเกิดภัยแล้ง ขาดแคลนน้ำ  รวมถึงไฟป่าตามมา หรื

กางแผนผลักดัน OECMs ตามเป้า 30X30  ป้องกันพืช-สัตว์ สูญพันธุ์

เนื่องในวันสากลแห่งความหลากหลายทางชีวภาพ ประจำปี 2566 “From Agreement to Action : Build Back Biodiversity “  จัดโดยสำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม  เปิดวงเสวนาหัวข้อ “OECMs โอกาสในการบรรลุเป้าหมาย 30 x 30 ของประเทศไทย”

ต้านการทำลายพื้นที่ชุ่มน้ำด้วย‘Big Data’

แม้จะมีข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพประกอบด้วยพืช สัตว์ จุลินทรีย์ ชนิดพันธุ์ที่ถูกคุกคาม ชนิดพันธุ์ต่างถิ่นที่รุกราน พิกัดสิ่งมีชีวิต จำนวน 1.2 แสนรายการ บนระบบคลังข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพของประเทศไทย (Thailand Biodiversity Information Facility: TH-BIF) ซึ่งเป็นแพลตฟอร์มดิจิทัลที่สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากร

ถอดโมเดล 10 จังหวัด สู้ภัยโลกร้อน

การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ สร้างผลกระทบในแต่ละพื้นที่ของประเทศไทยแตกต่างกัน ส่งผลให้แต่ละจังหวัดมีการขับเคลื่อนการดำเนินงานเพื่อสู้ภัยโลกร้อนและบรรเทาความเสียหายของทรัพยากรธรรมชาติจากสภาพอากาศที่แปรปรวนเพิ่มขึ้น ปัจจุบันมี 10 จังหวัดนำร่อง

GIZ ชวนร่วมงาน Glocal Climate Change, Act Locally, Change Globally

GIZ ชวนร่วมงานปิดโครงการและกิจกรรมสร้างความตระหนักแก่ภาคสาธารณะ TGCP-Policy รับฟังวิสัยทัศน์ความพร้อมจังหวัดไทยสู้ภัย

ข้อเสนอรายงานคุณภาพสิ่งแวดล้อม ทางออกฝ่าวิกฤตขยะ-ลดก๊าซเรือนกระจก

ร่างรายงานสถานการณ์คุณภาพสิ่งแวดล้อม พ.ศ. 2565 ฉายภาพใหญ่ๆ หลายประเด็นที่มีความน่าเป็นห่วง ตั้งแต่การใช้พลังงานทดแทนและพลังงานหมุนเวียนที่ลดลงตามลำดับ

เพิ่มเพื่อน