ป้ายกำกับ :
สถาบันวิจัยดาราศาสตร์แห่งชาติ
4 ม.ค. โลกใกล้ดวงอาทิตย์มากที่สุดในรอบปี
สถาบันวิจัยดาราศาสตร์แห่งชาติ โลกใกล้ดวงอาทิตย์ที่สุดในรอบปี ระยะห่างประมาณ 147 ล้านกิโลเมตร
มาแล้ว 'ฝนดาวตกควอดรานติดส์' ต้อนรับปี 2025 ดูด้วยตาเปล่าได้ทั่วไทย
สดร.ชวนชม ‘ฝนดาวตกควอดรานติดส์’ ปรากฏการณ์แรกบนฟ้าต้อนรับปีใหม่หลังเที่ยงคืนวันที่ 3 – รุ่งเช้า 4 ม.ค. 68 นี้ดูด้วยตาเปล่าได้ทั่วไทย
เปิดภาพดาวหาง 'จื่อจินซาน-แอตลัส' กับทางช้างเผือก และดาวศุกร์ เหนือองค์พระธาตุคู่เชียงใหม่
สถาบันวิจัยดาราศาสตร์แห่งชาติ (องค์การมหาชน) (สดร. หรือ NARIT) กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม เปิดเผยภาพดาวหางจื่อจินซาน-แอตลัส กับทางช้างเผือก และดาวศุกร์
IRPC ผสานสถาบันวิจัยดาราศาสตร์แห่งชาติ ต่อยอดขยายผลงานนวัตกรรมเพื่อนำไปใช้ในเชิงพาณิชย์
บริษัท ไออาร์พีซี จำกัด (มหาชน) โดย คุณอนุชา สมจิตรชอบ ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการใหญ่ ศูนย์นวัตกรรมไออาร์พีซี ร่วมลงนามบันทึกข้อตกลงความร่วมมือกับ สถาบันวิจัยดาราศาสตร์แห่งชาติ (องค์การมหาชน) นำโดย ดร.ศรัณย์ โปษยะจินดา ผู้อำนวยการสถาบันวิจัยดาราศาสตร์แห่งชาติ เพื่อร่วมมือในการวิจัยและพัฒนาผลิตภัณฑ์ รวมทั้ง ต่อยอดในการขยายผลงานนวัตกรรมเพื่อนำไปใช้ในเชิงพาณิชย์
วันนี้ 'วันครีษมายัน' กลางวันยาวสุดของปี พระอาทิตย์อยู่บนท้องฟ้าเกือบ 13 ชม.
สถาบันวิจัยดาราศาสตร์แห่งชาติ (องค์การมหาชน) (สดร.) หรือ NARIT กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.) แจ้งว่า ในวันที่ 21 มิถุนายน 2567 เป็น “วันครีษมายัน”
สดร.เผยภาพดาวหาง ฝีมือคนไทยบันทึกจากยอดดอยอินทนนท์
สถาบันวิจัยดาราศาสตร์แห่งชาติ (องค์การมหาชน) (สดร.) กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัย และนวัตกรรม (อว.) เปิดเผยภาพดาวหาง 12P/Pons-Brooks ที่เป็นฝีมือคนไทยบันทึกได้ช่วงหัวค่ำวันที่ 11 มีนาคม 2567 จากยอดดอยอินทนนท์ อ. จอมทอง จ. เชียงใหม่
'สถาบันวิจัยดาราศาสตร์ฯ' คาดแสงวาบบนท้องฟ้าเป็นดาวตกระเบิด
สดร.ชี้ลูกไฟขนาดใหญ่เหนือท้องฟ้าหลายจังหวัดของไทย คาดอาจเป็นดาวตกชนิดระเบิด
IRPC เยี่ยมชม สถาบันวิจัยดาราศาสตร์แห่งชาติ
คุณอนุชา สมจิตรชอบ ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการใหญ่ ศูนย์นวัตกรรม บริษัท ไออาร์พีซี จำกัด (มหาชน) หรือ IRPC พร้อมคณะ เข้าเยี่ยมชม สถาบันวิจัยดาราศาสตร์แห่งชาติ
แห่ชม 'ฝนดาวตก' คึกคัก! มากสุดถึง 120 ดวงต่อชั่วโมง
สถาบันวิจัยดาราศาสตร์แห่งชาติ (องค์การมหาชน) (สดร.) เผยบรรยากาศและภาพกิจกรรมคืนฝนดาวตกเจมินิดส์ปีนี้มีปริมาณมากสุดถึง 120 ดวงต่อชั่วโมง
ดูฝนดาวตกเจมินิดส์ คืน 14 - รุ่งเช้า 15 ธ.ค.นี้ เฉลี่ย 120-150 ดวง/ชม. เริ่มสังเกตได้ตั้งแต่ 2 ทุ่ม มาถี่หลังเที่ยงคืน
สถาบันวิจัยดาราศาสตร์แห่งชาติ(องค์การมหาชน)แจ้งชวนประชาชนร่วมชมปรากฏการณ์ทางดาราศาสตร์บนท้องฟ้าค่ำคืนเดือนธันวาคมกับ ฝ
รอชม 'ดาวศุกร์สว่างที่สุด' รุ่งเช้า 18 ก.ย. สังเกตได้ด้วยตาเปล่า
เพจเฟซบุ๊ก NARIT สถาบันวิจัยดาราศาสตร์แห่งชาติ แจ้งว่า รุ่งเช้า 18 กันยายนนี้ #ดาวศุกร์สว่างที่สุด อีกครั้ง 18 กันยายน 2566 ช่วงเช้าก่อนรุ่งสาง
ชวนชม 4 ปรากฏการณ์ดาราศาสตร์ เกิดขึ้นในเดือนสิงหาคม
สถาบันวิจัยดาราศาสตร์แห่งชาติ (องค์การมหาชน) กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัย และนวัตกรรม (อว.) เปิดเผยว่า เดือนสิงหาคมนี้พบกับ 4 ปรากฏการณ์ดาราศาสตร์ที่จะเกิดขึ้น ได้แก่ ฝนดาวตกเพอร์เซอิดส์ (ฝนดาวตกวันแม่) ดวงอาทิตย์ตั้งฉากกรุงเทพฯ ดาวเสาร์ใกล้โลกที่สุดในรอบปี และซูเปอร์บลูมูน
รับรองแล้ว 'แก้วโกสินทร์-ไพลินสยาม' ชื่อภาษาไทยดาวเคราะห์นอกระบบสุริยะ
สถาบันวิจัยดาราศาสตร์แห่งชาติ (องค์การมหาชน) (สดร.) กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัย และนวัตกรรม (อว.) เผยว่า สหพันธ์ดาราศาสตร์นานาชาติ หรือ IAU (The International Astronomical Union) ได้รับรองชื่อภาษาไทยของดาวฤกษ์แม่ GJ3470 และดาวเคราะห์นอกระบบสุริยะ GJ3470b ว่า “แก้วโกสินทร์” และ “ไพลินสยาม” นับเป็นระบบดาวเคราะห์นอกระบบ ระบบที่ 3 ที่มีชื่อเป็นภาษาไทย
ห้ามพลาด สถาบันวิจัยดาราศาสตร์ ชวนประชาชนรับชม ปรากฏการณ์สุริยุปราคา
เพจ NARIT สถาบันวิจัยดาราศาสตร์แห่งชาติ ระบุว่า 20 เมษายนนี้ มีปรากฏการณ์ #สุริยุปราคาบางส่วนเหนือฟ้าเมืองไทย สังเกตได้บางพื้นที่ทางภาคใต้ อีสาน และตะวันออก
'สถาบันวิจัยดาราศาสตร์แห่งชาติ' ชวนนอนนับ 'ฝนดาวตกเจมินิดส์' คืนนี้
สดร.ชวนโต้ลมห่มหนาว นอนนับฝนดาวตกเจมินิดส์ อ่างเก็บน้ำห้วยลาน อ.สันกำแพง จ.เชียงใหม่ท่ามกลางลมหนาวระลอกใหม่จากจีน เผยทั่วประเทศดูได้ตาเปล่าหัวค่ำเป็นต้นไปมากสุด 150 ดวง/ชม.
3 เหตุผล ต้องดู 'จันทรุปราคาเต็มดวง' วันลอยกระทง
สถาบันวิจัยดาราศาสตร์แห่งชาติ ได้โพสต์ชักชวนดูปรากฎการณ์”จันทรุปราคาเต็มดวงเหนือฟ้าเมืองไทย”
เผยที่มา ความหมาย 'วันศารทวิษุวัต' เวลากลางวันยาวเท่ากับกลางคืน 23 ก.ย.นี้
สถาบันวิจัยดาราศาสตร์แห่งชาติ เปิดเผยว่า ในวันศุกร์ที่ 23 กันยายนนี้ เป็น “วันศารทวิษุวัต” เวลากลางวันยาวเท่ากับกลางคืน “ศารทวิษุวัต” (สาด-ทะ-วิ-สุ-วัด) (Autumnal Equinox) เวลากลางวันเท่ากับกลางคืน
สะท้านวงการดาราศาสตร์ หลังเจอ 'ดาวหาง' ที่มีขนาดใหญ่ที่สุดเท่าที่เคยมีการค้นพบ
ฮับเบิลยืนยัน!! ดาวหางที่มีขนาดใหญ่ที่สุดเท่าที่เคยมีการค้นพบ
ชวนชมปรากฏการณ์ 'ดาวเคียงเดือน' 28-29 มี.ค.
นายศุภฤกษ์ คฤหานนท์ ผู้อำนวยการศูนย์บริการวิชาการและสื่อสารทางดาราศาสตร์ สถาบันวิจัยดาราศาสตร์แห่งชาติ (องค์การมหาชน) หรือ สดร. เปิดเผยว่า รุ่งเช้าของวันที่ 28 – 29 มีนาคม 2565 นี้