ป้ายกำกับ :
พอช.
‘สายน้ำและความหวัง’…ชาวแพริมฝั่งสะแกกรัง จ.อุทัยธานี (1) จากท่าข้าว-เรือนแพ-ตลาดเก่า-ตรอกโรงยา...สู่พิพิธภัณฑ์มีชีวิต
หากจะวัดขนาดกันแล้ว ตัวเมืองอุทัยธานี ถือเป็นเมืองขนาดเล็ก มีพื้นที่ไม่กี่ตารางกิโลเมตร เฉพาะขอบเขตเมืองเก่ามีเนื้อที่ประมาณ 1.69 ตารางกิโลเมตร แต่ภายใต้ความเล็กกะทัดรัดนี้
พอช.เดินหน้าพัฒนาคุณภาพชีวิตชาวแพสะแกกรัง จ.อุทัยธานี ซ่อมแพ-หนุนท่องเที่ยว-สร้างอาชีพ-อนุรักษ์ชุมชนแพแห่งสุดท้าย
อุทัยธานี / พอช. เดินหน้าพัฒนาคุณภาพชีวิตชุมชนชาวแพริมแม่น้ำสะแกกรัง จ.อุทัยธานี โดยสนับสนุนการซ่อมสร้างแพที่ชำรุดทรุดโทรมเฟสสุดท้าย รวม 127 หลัง
พอช.หนุนโครงการ ‘คนรุ่นใหม่คืนถิ่น’ 80 โครงการ 44 จังหวัด เป้าหมายสร้างคนรุ่นใหม่กลับไปพัฒนาชุมชนท้องถิ่นทั่วประเทศ
พอช./ สถาบันพัฒนาองค์กรชุมชนฯ ‘พอช.’ สนับสนุนโครงการ ‘คนรุ่นใหม่คืนถิ่น’ เพื่อสนับสนุนคนรุ่นใหม่กลับไปพัฒนาชุมชนท้องถิ่นร่วมกับเครือข่ายชุมชน
พอช.ชี้แจง กรณีชาวซอยงามวงศ์วาน 59 ร้องเรียน โครงการบ้านมั่นคงริมคลองเปรมประชากร
กระทรวง พม. / วันนี้ 22 มกราคม 2567 เวลา 10.00 น. นายศรีสุวรรณ จรรยา ผู้นำองค์กรรักชาติและแผ่นดิน พร้อมด้วยชาวบ้านซอยงามวงศ์วาน 59 ได้นำหนังสือร้องเรียน
ศรีสุวรรณนำชาวบ้านบุก พม. ค้านตัดต้นไม้ใหญ่
ศรีสุวรรณจ่อนำชาวงามวงศ์วาน 59 มากกว่า 100 คนบุกกระทรวง พม.ค้านตัดต้นไม้ใหญ่รื้อถนนสร้างบ้านมั่นคง
สำนักนายกฯ จัดงาน“พี่น้องรับรู้รวมใจรักษ์คลองเปรมประชากร” พอช.-ภาคีเครือข่ายร่วมจิตอาสาปรับภูมิทัศน์-เยี่ยมกลุ่มเปราะบาง
ปทุมธานี / สำนักงานปลัดสำนักนายกรัฐมนตรีจัดกิจกรรมจิตอาสา “พี่น้องรับรู้รวมใจรักษ์คลองเปรมประชากร” ที่ชุมชนวัดรังสิต จังหวัดปทุมธานี
‘ดร.กอบศักดิ์’ ประธานบอร์ด พอช.ร่วมกับ BOI และภาคธุรกิจ เตรียมจัดงานใหญ่ดึงภาคเอกชนหนุนการพัฒนาชุมชนสู่ความยั่งยืน “สานพลังชุมชน เสริมพลังภาคี ขับเคลื่อนเศรษฐกิจฐานราก” มีนาคมนี้
ธนาคารกรุงเทพฯ / ดร.กอบศักดิ์ ภูตระกูล ประธานบอร์ด พอช. ประชุมร่วมกับ BOI และภาคธุรกิจเอกรายใหญ่ เช่น กลุ่มเซ็นทรัล ปูนซิเมนต์ไทย ซีพี บางจาก ปตท.
‘7 ปีที่รอคอย’ ของคนเวียงสระ จ.สุราษฎร์ธานี เตรียมสร้าง ‘บ้านมั่นคง’ โครงการ 3 รวม 182 ครอบครัว
จ.สุราษฎร์ธานี / ‘7 ปีที่รอคอย’…คนเวียงสระ 182 ครอบครัว เตรียมสร้าง ‘บ้านมั่นคง’ เป็นบ้านแฝดชั้นเดียวและบ้านแถว 2 ชั้น หลังจากเริ่มรวมกลุ่มผู้เดือดร้อนเรื่องที่อยู่อาศัย-ชาวบ้านที่โดนไล่ที่ตั้งแต่ปี 2560
พอช.จัดประชุมบูรณาการความร่วมมือพัฒนาที่อยู่อาศัย-คุณภาพชีวิตประชาชน -ช่วยเหลือผู้ประสบภัยน้ำท่วม 3 จังหวัดชายแดนใต้กว่า 100 ครอบครัว
ยะลา / ผอ.พอช. ‘กฤษดา สมประสงค์’ นำทีมผู้บริหาร ผู้นำภาคประชาชน จัดประชุมบูรณาการความร่วมมือกับหน่วยงานในท้องถิ่น 3 จังหวัดชายแดนใต้ เช่น ศอ.บต. กอ.รมน.
กระทรวง พม.-พอช.ร่วมจัดงานวันเด็ก ชูแนวคิด “ให้ทุกวันเป็นวันของเด็ก”
วันนี้ (13 มกราคม) เวลา 08.00 น. นายวราวุธ ศิลปอาชา รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ (พม.) เป็นประธานพิธีเปิดงานวันเด็กแห่งชาติ ประจำปี 2567
กระทรวง พม.-พอช.-หน่วยงานภาคีเตรียมสร้างบ้านใหม่ ช่วยผู้ประสบภัยน้ำท่วม-พลุระเบิด 3 จังหวัดชายแดนใต้
3 จังหวัดชายแดนใต้ / กระทรวงการพัฒนาสังคมฯ -สถาบันพัฒนาองค์กรชุมชนฯ พร้อมทั้งหน่วยงานภาคีในพื้นที่และส่วนกลาง มูลนิธิอาสาเพื่อนพึ่ง (ภาฯ)
บ้านมั่นคงชนบท ‘น้ำพางโมเดล’ จ.น่าน (2) บ้านที่มั่นคงของ ‘สหายกำปืน' อดีตนักสู้ ‘อนุชน พคท.’
‘น้ำพางโมเดล’ คือการปรับเปลี่ยนวิถีการผลิตของชาวบ้านตำบลน้ำพาง อ.แม่จริม จ.น่าน ตั้งแต่ปี 2558 จากเดิมที่ชาวบ้านปลูกข้าวโพดเป็นหลัก เป็นพืชเชิงเดี่ยวที่ต้องใช้สารเคมี
บ้านมั่นคงชนบท ‘น้ำพางโมเดล’ จ.น่าน (1) “ที่ดินคือชีวิต”...เส้นทางสู่การพัฒนาที่ยั่งยืน !!
ตำบลน้ำพาง อ.แม่จริม จังหวัดน่าน อยู่ห่างจากตัวเมืองน่านไปทางทิศตะวันออกเฉียงใต้ประมาณ 50 กิโลเมตร และอยู่ไม่ไกลจากชายแดนประเทศลาว
จาก ‘มะน้ำแก้ว’ บนดอย...สู่ ‘ฟักทองอินทรีย์’ ที่ห้างใหญ่ในเมือง เส้นทางพลิกฟื้นไร่ข้าวโพด-ดอยหัวโล้นสู่เกษตรอินทรีย์ที่บัวใหญ่ จ.น่าน
“บ่าฟักแก้ว”, “ฟักแก้ว” , “บ่าน้ำแก้ว”, “ม่าน้ำแก้ว” หรือ “มะน้ำแก้ว” ตามสำเนียงของแต่ละท้องถิ่นในภาคเหนือ มีความหมายถึง “ฟักทอง” ในภาษากลาง ใช้ทำอาหารได้หลายอย่าง
คนดอยเต่า จ.เชียงใหม่ ‘ฮอมแฮง’ สร้างบ้าน-สร้างเศรษฐกิจ-แก้ปัญหาที่ดินส่งเสริมอาชีพเลี้ยงหมูดำ-วัวเนื้อ สร้างชีวิตที่มั่นคง
อำเภอดอยเต่า จังหวัดเชียงใหม่ ในอดีตเป็นพื้นที่ทุรกันดารอดอยาก เพราะบ้านเรือนเรือกสวนไร่นาถูกน้ำท่วมตั้งแต่ยุคสร้างเขื่อนในปี พ.ศ.2507
‘คนแม่แจ่ม’ จ.เชียงใหม่ เดินหน้าพัฒนาเมืองทุกมิติ (4) การแก้ปัญหาที่ดิน-ที่อยู่อาศัย...สร้างแม่แจ่มให้เป็นเมืองสีเขียว
แม้ว่าชาวแม่แจ่มส่วนใหญ่จะอยู่อาศัยและทำกินต่อเนื่องมาตั้งแต่ครั้งบรรพบุรุษ แต่กฎหมายทึ่เดินทางมาถึงทีหลัง เช่น พ.ร.บ.อุทยานแห่งชาติ พ.ศ.2504
‘คนแม่แจ่ม’ จ.เชียงใหม่ เดินหน้าพัฒนาเมืองทุกมิติ (3) จากม่อนบ่อเฮาะ...สู่ ‘แม่แจ่มโมเดล’...การพัฒนาที่ยั่งยืน
การสร้างบ้านแปงเมืองหลังภัยพิบัติที่บ้านยางหลวง โดยชาวบ้านอพยพหนีภัยน้ำท่วมที่เกิดขึ้นในปี 2545 มาอยู่ที่ม่อนบ่อเฮาะเพื่อสร้างบ้านสร้างชุมชนใหม่
พม.-พอช. มอบของขวัญปีใหม่ ‘ชาวบ้านไผ่ จ.ขอนแก่น’ สร้างบ้านใหม่ 300 หลัง ร่วมมือภาคเอกชน-ท้องถิ่น-ชุมชน มอบบ้านเฟสแรก 120 หลัง “คุณภาพชีวิตที่ดีเพื่อทุกคน”
จ.ขอนแก่น / กระทรวง พม.-พอช. มอบของขวัญปีใหม่ให้ชาวเมืองบ้านไผ่ จ.ขอนแก่น สร้างบ้านสร้างชุมชนใหม่ 300 หลัง โดยร่วมมือกับภาคเอกชน ท้องถิ่นและชาวชุมชน
‘คนแม่แจ่ม’ จ.เชียงใหม่ เดินหน้าพัฒนาเมืองทุกมิติ (2) จากภัยพิบัติ ‘บ้านยางหลวง’ สู่ยุค ‘สร้างบ้านแปงเมือง’
นอกจากแม่แจ่มจะร่ำรวยไปด้วยธรรมชาติ ศิลปะ วัฒนธรรม ประเพณี มีรากเหง้าความเป็นมาของผู้คนที่หลากหลายน่าสนใจแล้ว แม่แจ่มยังเคยผ่านช่วงวิกฤต…
‘คนแม่แจ่ม’ จ.เชียงใหม่ เดินหน้าพัฒนาเมืองทุกมิติ (1) รากเหง้า...วิถี...และสีสัน ‘มนต์เมืองแจ๋ม’
ก่อนอาณาจักรเชียงใหม่เจริญรุ่งเรืองเมื่อหลายร้อยปีก่อน ‘ชาวลัวะ’ หรือ ‘ละว้า’ เป็นกลุ่มชาติพันธุ์ดั้งเดิมที่ตั้งถิ่นฐานอยู่ในอาณาจักรล้านนา (รวมทั้งในพม่าและลาว)