ป้ายกำกับ :

นพ.ธีระวัฒน์ เหมะจุฑา

เปิดข้อมูล ‘ไวรัสโควิด’ สร้างได้ในห้องทดลอง มีจดสิทธิบัตรตั้งแต่ปี 2018

การสร้างไวรัสใหม่ชนิดนี้จะสามารถครอบคลุมไวรัสที่จะแพร่และเกิดโรคระบาดในมนุษย์ได้ทั้งสิ้น และสามารถที่จะสร้างวัคซีนให้มนุษย์ก่อนได้

'หมอธีระวัฒน์' แจง 5 ข้อ พูดเรื่องผลกระทบการวัคซีนโควิดทำไม ในเมื่อมันผ่านไปแล้ว

ศ.นพ.ธีระวัฒน์ เหมะจุฑา หัวหน้าศูนย์วิทยาศาสตร์สุขภาพโรคอุบัติใหม่ คณะแพทยศาสตร์ โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ โพสต์ข้อความผ่านเฟซบุ๊ก ว่า

สถาบันวัคซีนแห่งชาติ ชี้แจงข้อเท็จจริง 'ลิ่มเลือดสีขาว' ไม่เกี่ยวฉีดวัคซีนโควิด

สถาบันวัคซีนแห่งชาติ ชี้แจงข้อเท็จจริง เรื่อง ลิ่มเลือดสีขาว (White clot) และวัคซีนโควิด 19 ชนิด mRNA จากกรณีที่มีการเผยแพร่และส่งต่อข้อมูลเกี่ยวกับการพบสิ่งแปลกปลอมซึ่งมีลักษณะเป็นลิ่มเลือดสีขาว (White clot) ในหลอดเลือดผู้เสียชีวิตที่ได้รับการฉีดวัคซีนโควิด 19

'หมอธีระวัฒน์' เลิกพูดถึงเรื่อง 'white clot' แต่ยังให้ความสำคัญกับผลกระทบของวัคซีน

ศ.นพ.ธีระวัฒน์ เหมะจุฑา หัวหน้าศูนย์วิทยาศาสตร์สุขภาพโรคอุบัติใหม่ คณะแพทยศาสตร์ โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ โพสต์ข้อความในเฟซบุ๊ก

'หมอธีระวัฒน์' เปิดรายงานใช้วัคซีนโควิด ส่งผลเส้นเลือดตัน-แตก กล้ามเนื้อหัวใจอักเสบ

นพ.ธีระวัฒน์ เหมะจุฑา หัวหน้าศูนย์วิทยาศาสตร์สุขภาพโรคอุบัติใหม่ คณะแพทยศาสตร์ โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ โพสต์ข้อความผ่านเฟซบุ๊ก หัวข้อ เกิดอะไรขึ้นเมื่อมีการใช้วัคซีนโควิด มีเนื้อหาดังนี้

‘หมอธีระวัฒน์’ อธิบายชัด ‘โควิด-วัคซีน’ ผลกระทบแบบยาว

โควิดนี้มีได้แบบชนิดตอนเดียวจบ คือแบบสั้น ติดเชื้อแบบไม่มีอาการแพร่ไปให้คนอื่นเสร็จแล้วเชื้อก็หายไปจากตัวหรือติดเชื้อและเกิดอาการเบา กลาง หนัก จนถึงเสียชีวิต

อาจารย์หมอ ย้ำชัดเป็นสมองเสื่อม รู้เร็วป้องกันชะลอไม่ให้ลุกลามได้

สมองเสื่อมมีหลายยี่ห้อแล้วแต่ชนิดของโปรตีนพิษบิดเกลียว ที่จะมีทางวิ่งไปยังสมองส่วนต่างๆไม่เหมือนกัน ดังนั้นทำให้อาการที่ปรากฏขึ้นนั้น มีความผิดแผกแตกต่างกันได้ แต่ทั้งนี้ กลไกการเกิดและการทำลายสมองนั้นใกล้เคียงหรือเหมือนกัน

'หมอธีระวัฒน์' ให้ข้อคิดก่อนตัดสินใจรักษาวิธีใดวิธีหนึ่ง ต้องคิดให้ดีว่าคุ้มเสียหรือไม่

นพ.ธีระวัฒน์ เหมะจุฑา ผู้อำนวยการศูนย์วิทยาศาสตร์สุขภาพโรคอุบัติใหม่ คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย โพสต์เฟซบุ๊กระบุว่า

อายุ 80 ขึ้น กลับมีสมองเหมือน 50 ทำอย่างไร? ’หมอธีระวัฒน์’ มีคำตอบ

แม้จะมีสมองเสียหายแล้วแต่ภายนอกก็ยังดูดีอยู่ได้ (resilience) จนกระทั่งถึงการชะลอไม่ให้สมองเสียหายเร็วและปรับกระบวนทัศน์ของการใช้พลังงานให้เป็นในรูปแบบของ autophagy

เวียนหัว-บ้านหมุน ‘ทำท่าอินเดีย’ อาจช่วยได้ อาจารย์หมอธีระวัฒน์แนะนำ

อาการเวียนศีรษะ บ้านหมุน โดยที่ลักษณะเวียนเป็นครั้งละสั้นๆประมาณหนึ่งอึดใจ ไม่เกิน 1 นาที และมักจะมี “ท่าประจำ”

อาจารย์หมอจุฬาฯ เผยยิ่งกินยาแก้ปวดหัวจะยิ่งปวดหัว!

หมอธีระวัฒน์เผยการปวดศรีษะแล้วกินยาแก้ปวดมากเกินไปอาจทำให้เกิดโรค MOH ได้ ซึ่งคนไทยอาจไม่รู้จักแพร่หลาย เพราะชินการใช้มากเกินจำเป็น

‘กินเร็วตั้งแต่เช้า…ตายช้า’ อาจารย์หมอ ยกสื่อนอกรายงานผลการศึกษา

คณะผู้วิจัย ทั้งสองกลุ่มต่าง ก็ให้ข้อสรุปในทิศทางคล้ายกัน คือเริ่มกินตั้งแต่เช้า หรือ อย่างดมื้อเช้า และจำกัดระยะเวลาของการกินอยู่ในช่วง 5 ถึง10 ชั่วโมงแรก

อาจารย์หมอ แนะเรียนรู้ ‘สมองเสื่อม’ แต่เนิ่นป้องกันชะลอไม่ให้ลุกลามได้

สมองเสื่อมมีหลายยี่ห้อแล้วแต่ชนิดของโปรตีนพิษบิดเกลียว ที่จะมีทางวิ่งไปยัง สมองส่วนต่างๆไม่เหมือนกัน ดังนั้นทำให้อาการที่ปรากฏขึ้นนั้น มีความผิดแผกแตกต่างกันได้

‘หมอธีระวัฒน์’ เตือนใช้ยาถ่าย-ยาระบายบ่อย เสี่ยงสมองเสื่อม

การใช้ยาระบายชนิดเดี่ยวหรือหลายชนิดร่วมกันเพิ่มความเสี่ยงสมองเสื่อม… รายงานนี้ ตีพิมพ์ในวารสารประสาทวิทยา (Neurology)

อาจารย์หมอจุฬาฯ แนะแนวทางเสริมพลังป้องกันโรค!

หมอธีระวัฒน์แนะแนวทางเสริมพลังป้องกันโรคแถมสู้โควิด ทั้งเรื่องอาหารการกินมือเช้า การใช้ประโยชน์จากแสงแดด และการออกกำลังกาย

‘หมอธีระวัฒน์’ สะกิด ‘สว’ ต้องรู้! เนือยนิ่ง ทอดหุ่ย สมองเสื่อม

สว คือสูงวัย จะมีพฤติกรรมชอบเนือยนิ่ง (Sedentary behavior) และเป็นที่ทราบชัดเจนแล้วว่า การนั่งหรือเอน ทอดหุ่ย ขี้เกียจ ดูแต่ทีวี งีบหลับเป็นพัก ๆ

คอกาแฟต้องรู้! ’หมอธีระวัฒน์’ บอกกาแฟกลายกลับเป็นดี

ศ.นพ.ธีระวัฒน์ เหมะจุฑา หัวหน้าศูนย์วิทยาศาสตร์สุขภาพโรคอุบัติใหม่ คณะแพทยศาสตร์ โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ โพสต์ข้อความผ่านเฟซบุ๊กเรื่อง “กาแฟกลายกลับเป็นดี”

ผงะ! อาจารย์หมอจุฬาเผยฝุ่นพิษไม่ได้ทำร้ายแค่ปอดแต่เสี่ยงหัวใจวายด้วย

นพ.ธีระวัฒน์เผยPM 2.5 ไม่ได้ทำร้ายปอดอย่างเดียว แต่มีผลต่อหัวใจ ซ้ำร้ายเป็นปัจจัยเสี่ยงสำคัญอันดับสี่ ในการเสียชีวิตมากกว่าไขมันสูง-ความอ้วน และไตแปรปรวนด้วยซ้ำ

หมอธีระวัฒน์ เผยสาเหตุอาการเหนื่อยล้า หลังหายจากโควิด

อาการเหนื่อยล้า เพลียง่าย ภายหลังหายจากการ “ติดโควิด”  ทั้งๆที่ขณะที่เป็น โควิด อาการไม่จำเป็นต้องรุนแรงเสมอไป

เพิ่มเพื่อน