ป้ายกำกับ :
กลุ่มนโยบายสาธารณะเพื่อสังคมและธรรมาภิบาล
ปีแห่งความร่วมมือ ร่วมใจในการพัฒนาสังคมไทยสู่ความเสมอภาค
ผู้อ่านหลายท่านน่าจะเห็นตรงกันว่าปีพ.ศ. 2567 ที่ผ่านมานั้น ประเทศไทยได้เผชิญกับความ ท้าทายหลายประการท่ามกลางความผันผวนของเศรษฐกิจโลก ปัญหาภูมิรัฐศาสตร์ ผลการเลือกตั้งในสหรัฐอเมริกาภายใต้นโยบาย Trump 2.0 ที่จะทำให้สงครามทางการค้าเข้มข้นมากขึ้นและประเทศไทยย่อมจะได้รับผลกระทบหลายประการอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้
ความไม่เสมอภาคทางเศรษฐกิจ-มองต่างมุม
เมื่อต้นปี 2567 มีหนังสือตีพิมพ์ใหม่เล่มหนึ่ง ชื่อ The Trading Game: A Confession ผู้เขียน คือ Gary Stevenson ได้รับความชมชอบจากผู้อ่าน (4.2 ดาว จาก website Goodreads) และมีการวิพากษ์วิจารณ์อย่างกว้างขวางในสื่อสังคมออนไลน์อยู่ 2 ประเด็นว่า ผู้เขียนโอ้อวดเกินจริงว่าตนเป็นนักค้าเงินอันดับหนึ่งของโลก และอีกประเด็นในเรื่องแนวความคิดเกี่ยวกับความไม่เสมอภาคทางเศรษฐกิจที่ผู้เขียนมองว่า เป็นแนวความคิดใหม่ที่นักเศรษฐศาสตร์มองไม่เห็นมาโดยตลอด
ประเทศชาติจะเปลี่ยนไป เมื่อคนไทยเปลี่ยนแปลง
ประเทศไทยจะอยู่กับวิกฤติการเมืองที่เลวร้าย หรือจะก้าวต่อไปสู่อนาคตที่ดีกว่า 2เส้นทางเดินสำคัญที่คนไทยจะต้องเลือกเดิน คือ…1.เมื่อโลกเปลี่ยนแปลงไป คนไทยต้องเปลี่ยนตาม(When the world changes and we change with it.) หรือ 2.เมื่อคนไทยเปลี่ยนแปลงไป ประเทศไทยก็จะเปลี่ยนตาม(When we change, the world changes.)
ปฎิรูปการศึกษา: กุญแจสำคัญในการเพิ่มศักยภาพการขยายตัวทางเศรษฐกิจ
ไม่ทราบจะเรียกว่าเป็นวิกฤตได้ไหม เมื่อผลการประเมินสมรรถนะนักเรียนมาตรฐานสากล หรือ PISA ประจำปี 2565 ของนักเรียนไทยออกมาต่ำที่สุดในรอบ 20 ปี ในทุกทักษะ ทั้งด้านคณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และการอ่าน
สังคมไทยภายใต้กระบวน การยุติธรรมหลาย มาตรฐาน
ต้องยอมรับว่าหลายๆ ปรากฏการณ์ที่เกิดขึ้นในประเทศเราในช่วงไม่กี่ปีที่ผ่านมานั้นทำให้ระบบสังคมโดยเฉพาะระบบย่อยหลายระบบ เช่น เศรษฐกิจ ครอบครัว สาธารณสุข ความเชื่อและศาสนามีการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว การเจริญเติบโตด้านวัตถุ โครงสร้างพื้นฐาน เทคโนโลยี รถยนต์ไฟฟ้า หรือการนำปัญญาประดิษฐมาประยุกต์ใช้งานและธุรกิจต่างๆ
เศรษฐกิจไทย วิกฤติ หรือ ไม่วิกฤติ
วิกฤติหมายถึงอะไร ประเทศไทยอยู่ในภาวะวิกฤตหรือไม่ ขณะนี้มีความสับสนอย่างมากในสังคมไทยในการใช้คำว่า วิกฤติ
โฉนดเพื่อเกษตรกรรมกับปัญหาการลักลอบเปลี่ยนแปลงการใช้ประโยชน์ที่ดิน
สืบเนื่องจากนโยบายปัจจุบันของรัฐบาล ที่ได้ผลักดันให้มีการออกโฉนดเพื่อเกษตรกรรมให้กับที่ดินเกษตรกรรม ส.ป.ก. โดยคาดหวังว่า นโยบายนี้จะช่วยเพิ่มความมั่งคั่งทางทรัพย์สินให้กับเกษตรกรที่ยากจนได้ และในขณะเดียวกัน ก็จะสามารถอนุรักษ์รูปแบบการใช้ประโยชน์ที่ดินเกษตรกรรมเอาไว้ด้วยนั้น
นโยบายพักชำระหนี้เกษตรกรรอบใหม่ : ทำอย่างไรไม่ให้ประวัติศาสตร์ซ้ำรอย
นโยบายพักชำระหนี้เกษตรกรลูกค้าธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร (ธกส.) รอบใหม่นี้นับเป็นครั้งที่ 14 ในรอบ 9 ปีที่ผ่านมา คำถามคือการพักชำระหนี้ครั้งนี้จะช่วยลดยอดหนี้คงค้างของเกษตรกรลงสู่ระดับที่เกษตรกรสามารถผ่อนชำระได้ตามปรกติโดยไม่เดือดร้อนได้หรือไม่
‘สังคมสูงวัย’ คนไทยเข้าใจอย่างไร ?
“ไทยเข้าสู่สังคมสูงวัยตั้งแต่ปี พ.ศ.2548 จากสถานการณ์โครงสร้างประชากรที่เปลี่ยนไปส่งผลเกิดผลกระทบทั้งด้านเศรษฐกิจและสังคม และปัญหาจะมีความท้าทายมากยิ่งขึ้นในอนาคต ดังนั้น สังคมไทยควรตระหนักถึงความเปลี่ยนแปลงและทำความเข้าใจความเป็นสังคมสูงวัย รวมทั้งทุกภาคส่วนควรเตรียมการรองรับปัญหาโครงสร้างประชากรใหม่ร่วมกัน”
ความท้าทายทางเศรษฐกิจหลัง Perfect Storm
งานเลี้ยงย่อมมีวันเลิกรา
วิกฤตเมื่อเกิดแล้ว ก็จะจบลงในที่สุด
ณ จุดนี้ เราได้เผชิญกับวิกฤต Perfect Storm มาระยะหนึ่งแล้ว
การทบทวนยุทธศาสตร์ชาติ
วันที่ 13 ตุลาคม 2565 นี้ พระราชโองการยุทธศาสตร์ชาติ (พ.ศ. 2561 – 2580) หรือที่เรียกกันว่า ยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี จะมีอายุครบ 4 ปี และย่างเข้าสู่ปีที่ 5 ซึ่
ประเทศไทย กับ 'ค่าโง่' : กระแสการเปลี่ยนแปลง?
“ค่าโง่” มักจะเป็นศัพท์ที่ใช้กันเมื่อเกิดคดีฟ้องร้องในกระบวนการอนุญาโตตุลาการโดยที่ฝ่ายรัฐเป็นฝ่ายถูกตัดสินให้ชดใช้ค่าเสียหายให้แก่ใช้บริษัทเอกชนที่นำเรื่องขึ้นฟ้องร้องในกระบวนการอนุญาโตตุลาการ
เกษตรกรอีสานกับกลยุทธ์การบริหารความเสี่ยง
ภาคอิสานคนส่วนใหญ่คงนึกภาพถึงความแห้งแลัง เกษตรกรยากจน การศึกษาต่ำ แต่ในมุมมองของนักวิชาการด้านมนุษยวิทยาชาวอเมริกัน ที่มีประสบการณ์ในประเทศไทยหลายสิบปี และหลายประเทศในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
ธรรมาภิบาลกับความสำนึกรับผิดชอบในสังคมไทย
แม้ว่ารัฐบาลและหน่วยงานด้านสาธารณสุขจะได้เพียรพยายามรณรงค์ให้ประชาชน ระมัดระวังการติดเชื้อและการแพร่ระบาดของไวรัสโควิด 19 แต่จำนวนผู้ติดเชื้อก็เพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง ผู้คนเริ่มการ์ดตก การจราจรคับคั่ง มีคลัสเตอร์ใหม่ๆ เกิดขึ้นจากการรวมกลุ่ม งานเลี้ยงสังสรรค์ ตลาดสด
นิยายเศรษฐกิจสองนครา
FED ส่งสัญญาณเข้าสู่ภาวะรัดเข็มขัดเมื่อพฤหัสบดีที่แล้ว ทำให้หุ้นเททั้งกระดานทั่วโลก
โควิด-19 ไม่ยอมไป การเมืองไทยไม่ยอมจบ
ปกติแล้วโรคติดต่อที่เกิดจากเชื้อไวรัสส่วนมาก มันมักจะมาไวไปไว วูบวาบ ถ้ารุนแรงก็มักไม่ระบาดไปไกล ถ้าติดต่อง่าย มักจะไม่รุนแรง และ มันมักอยู่กับเราไม่นานก็จางหายไป หรือ กลายเป็นโรคประจำถิ่น หรือ โรคตามฤดูกาลไปในที่สุด….
อยากไปเดินงานหนังสือที่สถานีกลางบางซื่อ
ตั้งแต่วันที่ 23-31 ตุลาคมนี้มี งานมหกรรมหนังสือระดับชาติ ครั้งที่ 26