20 ม.ค.2565 - ผู้สื่อข่าวรายงานว่า พรรคเล็กล่าสุด มีแนวโน้มที่จะไปร่วมกับกลุ่ม ร.อ.ธรรมนัส พรหมเผ่า ส.ส.พะเยา อดีตเลขาธิการพรรคพลังประชารัฐ ประกอบด้วย พรรครักษ์ผืนป่าประเทศไทย 2 คน พรรคพลังชาติไทย 1 คน พรรคประชาภิวัฒน์ 1 คน พรรคครูไทยเพื่อประชาชน 1 เสียง พรรคพลเมืองไทย 1 เสียง พรรคประชาธิปไตยใหม่ 1 เสียง พรรคไทยรักธรรม 1 เสียง และพรรคเพื่อชาติไทย 1 เสียง ขณะที่ในส่วนของนายมงคลกิตติ์ สุขสินธารานนท์ หัวหน้าพรรคไทยศรีวิไลย์ 1 เสียง ที่ประกาศตัวเป็นฝ่ายค้าน ก็ไปร่วมงานกับ ร.อ.ธรรมนัส เช่นกัน
ส่วนพรรคเล็กที่ตัดสินใจอยู่กับพล.อ.ประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรี มีเพียง 1 พรรคคือนพ.ระวี มาศฉมาดล หัวหน้าพรรคพลังธรรมใหม่ เนื่องจากมีความขัดแย้งกับ ร.อ.ธรรมนัสในช่วงการลงมติอภิปรายไม่ไว้วางใจรัฐบาลครั้งที่ผ่านมา
ข่าวที่เกี่ยวข้อง
สส.เพื่อไทย ดี๊ด๊า ประเทศไทยมีระบบที่เป็นมาตรฐาน!
นายอนุสรณ์ เอี่ยมสะอาด สส.บัญชีรายชื่อ พรรคเพื่อไทย (พท.) กล่าวว่าประชาชนที่ติดตามเรื่องนี้คงสบายใจขึ้นที่ศาลรัฐธรรมนูญมีมติไม่รับ
'อิ๊งค์' ยิ้มรับ 'พ่อ-เพื่อไทย' รอดล้มล้างปกครอง ชาวเน็ตชี้จากนี้ไป 'ทักษิณ' ใส่เกียร์เหลิง
จากกรณีตุลาการศาลรัฐธรรมนูญ มีมติไม่รับไว้พิจารณาวินิจฉัย คำร้องที่นายธีรยุทธ สุวรรณเกษร ในฐานะประชาชน ยื่นคำร้องต่อศาลรัฐธรรมนูญ ขอให้ศาลรัฐธรรมนูญพิจารณาวินิจฉัยตามรัฐธรรมนูญ
เปิด 5 ปัจจัย ทำให้รัฐบาลอยู่ไม่ครบเทอม
นายเทพไท เสนพงศ์ อดีต สส.นครศรีธรรมราช พรรคประชาธิปัตย์ โพสต์ข้อความผ่านเฟซบุ๊ก หัวข้อ 5 ปัจจัย ทำให้รัฐบาลอยู่ไม่ครบเทอม มีเนื้อหาดังนี้
ระทึกสุดขีด! 22 พ.ย. ศาลรธน.ลงมติ 'รับ-ไม่รับ' คำร้อง 'ทักษิณ-เพื่อไทย' ล้มล้างการปกครอง
คอนเฟิร์ม ศุกร์นี้ 22 พ.ย. 9 ตุลาการศาลรธน.นัดประชุมวาระพิเศษ หลังงดมาสองรอบ เตรียมนำหนังสือ-ความเห็นอัยการสูงสุด กางบนโต๊ะประชุม ก่อนลุ้นโหวตลงมติ”รับ-ไม่รับคำร้อง”คดีทักษิณ-เพื่อไทย โดนร้องล้มล้างการปกครองฯ
'แพทองธาร' โชว์วิชั่น การเมืองมีเสถียรภาพ ประเทศไทยจะดีขึ้น!
นายกฯ โชว์วิชั่น Forbes ไทยสงบ สันติ หวังรัฐบาลเปลี่ยน นายกฯเปลี่ยน แต่นโยบายเพื่อปชช.เดินหน้า บอกต่างชาติเจอคำถามแรกถามพ่อ-อาเป็นอย่างไร ย้ำการเมืองมั่นคง มีเสถียรภาพแน่นอน
ไทยในสายตาต่างชาติ (ตอนที่ 48: พระราชกฤษฎีกา 1 เมษายน 2476 คือ การทำรัฐประหารเงียบหรือ ?)
ในตอนที่แล้ว ผู้เขียนได้สรุปเหตุการณ์สำคัญต่างๆที่เป็นเงื่อนไขที่นำมาสู่การประกาศพระราชกฤษฎีกาวันที่ 1 เมษายน พ.ศ. 2476