เจ้าหน้าที่พิทักษ์ป่า 1,731 คนถูกเลิกจ้าง 'โต้ง' โว พท.เป็นรัฐบาลจะพากลับมาทันที

เจ้าหน้าที่พิทักษ์ป่า

19 ม.ค.2565 - นายกิตติรัตน์ ณ ระนอง อดีตรองนายกรัฐมนตรีและรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง ในรัฐบาลนางสาวยิ่งลักษณ์ ชินวัตร และอดีตรองหัวหน้าพรรคเพื่อไทย โพสต์ข้อความในเฟกบุ๊ก ว่า "กราบเรียน เจ้าหน้าที่พิทักษ์ป่า 1,731 ท่านที่ถูกรัฐบาลนี้ปลด ถ้าพรรคเพื่อไทยมีอำนาจหน้าที่ เราจะนำพวกท่านกลับมาทันที"

โพสต์ ของนายกิตติรัตน์ สืบเนื่องจาก กรณีมูลนิธิสืบนาคะเสถียร ทำหนังสือถึง พล.อ.ประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรี เพื่อให้พิจารณาการจัดสรรงบประมาณจ้างงานของ เจ้าหน้าที่พิทักษ์ป่า ซึ่งจะได้รับผลกระทบต่อพนักงานจ้างเหมาของอุทยานแห่งชาติทั่วประเทศ และอาจถูกเลิกจ้างสูงถึง 50 %

และเมื่อ 14 ม.ค.ที่ผ่านมา นายดำรัส โพธิ์ประสิทธิ์ ผอ.สำนักอุทยานแห่งชาติ กรมอุทยานแห่งชาติสัตว์ป่าและพันธุ์พืช ให้สัมภาษณ์ ไทยพีบีเอสออนไลน์ ว่า การปรับลดจำนวนเจ้าหน้าที่พิทักษ์ป่า ของกรมอุทยานแห่งชาติฯ โดยจากปัญหาดังกล่าว กรมอุทยานฯ ให้แต่ละอุทยานฯ ไปพิจารณา 2 ทางเลือกคือปรับคนออก และปรับลดเงินลง แต่ส่วนใหญ่ 80 % จะใช้วิธีลดเงินเดือนลง ซึ่งจากการไปตรวจเยี่ยมยอมรับว่าสะเทือนใจพอสมควร แต่ขวัญกำลังใจทุกคนยังพร้อมทำงาน

“ไม่อยากให้ตกงานทันที เพราะคนกลุ่มนี้ก็มีครอบครัวที่ต้องได้รับผลกระทบจากโควิดเท่ากับซ้ำเติม จึงเจรจาขอปรับลดเงินเดือนลง เพื่อประคับประคองโดยปรับลดเงินเดือนลง แต่ปีนี้บางคนที่อยู่ต้องยอมลดเงินเดือนลงจากเฉลี่ย 9,000 บาท เหลือเพียงเดือนละ 7,500 บาท”

ผอ.สำนักอุทยานแห่งชาติ กล่าวอีกว่า ภาพรวมปีงบประมาณ 2565 กรมอุทยานฯ ถูกปรับลดงบภาพรวมลงไปเฉลี่ย 900 ล้านบาท ซึ่งในช่วงย้อนหลัง 5 ปีมีการปรับลดงบลงมาต่อเนื่อง และมีการปรับลดงบมาต่อเนื่อง ปรับลดมาทุกปี แต่หนักสุดคือปี 2565

“ถ้าเทียบปี 64 อัตราจ้างพนักงานพิทักษ์ป่า 5,163 คน ล่าสุดถูกตัดเหลือ 3,432 คน หายไป 1,731 คนคิดเป็นอัตรา 33 % แต่ไม่ได้ลดทั้งหมด กรมฯ นำเงินรายได้ค่าธรรมเนียมมาสนับสนุนปีละกว่า 200 ล้านบาท เหมือนเป็นเงินประคอง ทำให้เจ้าหน้าที่เราถูกให้ออกบางส่วน แต่ถูกส่วนหนึ่งยอมอยู่ด้วยกัน”

เมื่อถามว่าถ้าปีหน้ายังถูกปรับลดงบอีก ผอ.สำนักอุทยานแห่งชาติ กล่าวว่า ยอมรับว่าหนักใจ เรื่องการคุ้มครองพื้นที่จากกำลังคนที่ลดลง ในอดีตนำเงินรายได้จากค่าธรรมเนียม ไปช่วยเจ้าหน้าที่พิทักษ์ป่าที่มีรายได้เฉลี่ย 9,000 บาท ทำให้นายธัญญา เนติธรรมกุล อธิบดีกรมอุทยานฯ อนุมัติให้ใช้เงินค่าธรรมเนียมนำมาสนับสนุนด้วย และลูกน้องเฉลี่ยปีละ 200 กว่าล้านบาท

นายดำรัส กล่าวว่า ตอนนี้ให้มีเบี้ยเลี้ยงจากการเดินป่าชั่วโมงละ 50 บาท หรือเฉลี่ยเพิ่มขึ้นอีกเดือนละ 2,000 บาท ช่วยประคับประคองดู เงินจำนวนนี้อาจจะไม่เยอะสำหรับคนบางคน แต่เชื่อสำหรับผู้พิทักษ์เป็นเงินจำนวนมาก เงิน 2,000 กว่าบาทเขาดีใจมากๆ

“เขายืนยันว่า ถึงแม้จะไม่มีในสิ่งเหล่านี้ ก็ยังทำงานอยู่แล้ว ตรงนี้ทำให้เรารู้สึกถึงจิตใจที่มุ่งมั่นในการทำงาน อยากฝากว่าบุคคลเหล่านี้คือผู้ปิดทองหลังพระ คงไม่มีใครรู้ว่าระหว่างที่หลายคนตามอยู่ในห้างสรรพสินค้า แต่เจ้าหน้าที่ของเราเดินอยู่ในป่ากินนอนในป่าปกป้องทรัพยาของไทย”

นายดำรัส กล่าวอีกว่า ในฐานะคนที่เคยอยู่อุทยานมาอย่างน้อย 4 แห่ง ทำงานกับลูกน้องมาตลอด และคุ้นเคย ได้ไปร่วมลาดตระเวนกับเจ้าหน้าที่ได้เห็นชีวิตการทำงาน ความทุ่มเทความยากลำบาก และทำให้รับรู้ถึงชีวิตของเจ้าหน้าที่พิทักษ์ป่า ซึ่งที่ผ่านมากรมอุทยานฯ เคยผลักดันอยากให้คนทำงานครบ 5 ปี อยากปรับเป็นพนักงานราชการ เพื่อให้มีสวัสดิการต่างๆ

ผอ.สำนักอุทยานแห่งชาติ กล่าวว่า หลังจากมีการปรับลดกำลังคนไปแล้ว ยอมรับว่าเป็นห่วงพื้นที่การลักลอบตัดไม้และล่าสัตว์ป่ามากขึ้น ซึ่งหลังจากนี้เตรียมติดตามว่าจะส่งผลกับคดีป่าไม้ สัตว์ป่าเพิ่มขึ้นหรือไม่ แต่ได้กำชับให้สแกนพื้นที่เสี่ยง โดยเฉพาะอุทยานแห่งชาติในภาคเหนือ ภาคอีสาน และโซนป่าตะวันตก

“สั่งสแกนให้อุทยานที่มีกลุ่มไม้มีค่า ทั้งอีสาน ภาคเหนือ ตะวันตกที่มีคดีสัตว์ป่าให้ปรับแผนคนเหลือน้อย หากต้องโยกคนในกลุ่มงานบริการท่องเที่ยวต้องให้ไปสับเปลี่ยน และยอมถูกตำหนิงานท่องเที่ยว ”

พร้อมกันนี้จะหมั่นลงไปตรวจเยี่ยม พูดคุย เพื่อสร้างขวัญกำลังใจให้กับเจ้าหน้าที่ในพื้นที่ทุกคนบ่อยๆ เพราะรู้ว่าการปรับลดคนครั้งนี้กระทบต่อขวัญกำลังใจ และทางนายวราวุธ ศิลปอาชา รมว.ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม (ทส.) และปลัด ทส.รับทราบเรื่องนี้

ขอบคุณรูปภาพจาก ผู้พิทักษ์ป่า TOR Ranger

วราวุธ สั่งเด็ดขาดหาตัวผู้กระทำผิด ลักลอบตัดไม้มะค่าโมงยักษ์ที่จ.น่าน

เจ้าหน้าที่พิทักษ์ป่า

19 ม.ค.2565 - นายกิตติรัตน์ ณ ระนอง อดีตรองนายกรัฐมนตรีและรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง ในรัฐบาลนางสาวยิ่งลักษณ์ ชินวัตร และอดีตรองหัวหน้าพรรคเพื่อไทย โพสต์ข้อความในเฟกบุ๊ก ว่า "กราบเรียน เจ้าหน้าที่พิทักษ์ป่า 1,731 ท่านที่ถูกรัฐบาลนี้ปลด ถ้าพรรคเพื่อไทยมีอำนาจหน้าที่ เราจะนำพวกท่านกลับมาทันที"

โพสต์ ของนายกิตติรัตน์ สืบเนื่องจาก กรณีมูลนิธิสืบนาคะเสถียร ทำหนังสือถึง พล.อ.ประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรี เพื่อให้พิจารณาการจัดสรรงบประมาณจ้างงานของ เจ้าหน้าที่พิทักษ์ป่า ซึ่งจะได้รับผลกระทบต่อพนักงานจ้างเหมาของอุทยานแห่งชาติทั่วประเทศ และอาจถูกเลิกจ้างสูงถึง 50 %

และเมื่อ 14 ม.ค.ที่ผ่านมา นายดำรัส โพธิ์ประสิทธิ์ ผอ.สำนักอุทยานแห่งชาติ กรมอุทยานแห่งชาติสัตว์ป่าและพันธุ์พืช ให้สัมภาษณ์ ไทยพีบีเอสออนไลน์ ว่า การปรับลดจำนวนเจ้าหน้าที่พิทักษ์ป่า ของกรมอุทยานแห่งชาติฯ โดยจากปัญหาดังกล่าว กรมอุทยานฯ ให้แต่ละอุทยานฯ ไปพิจารณา 2 ทางเลือกคือปรับคนออก และปรับลดเงินลง แต่ส่วนใหญ่ 80 % จะใช้วิธีลดเงินเดือนลง ซึ่งจากการไปตรวจเยี่ยมยอมรับว่าสะเทือนใจพอสมควร แต่ขวัญกำลังใจทุกคนยังพร้อมทำงาน

“ไม่อยากให้ตกงานทันที เพราะคนกลุ่มนี้ก็มีครอบครัวที่ต้องได้รับผลกระทบจากโควิดเท่ากับซ้ำเติม จึงเจรจาขอปรับลดเงินเดือนลง เพื่อประคับประคองโดยปรับลดเงินเดือนลง แต่ปีนี้บางคนที่อยู่ต้องยอมลดเงินเดือนลงจากเฉลี่ย 9,000 บาท เหลือเพียงเดือนละ 7,500 บาท”

ผอ.สำนักอุทยานแห่งชาติ กล่าวอีกว่า ภาพรวมปีงบประมาณ 2565 กรมอุทยานฯ ถูกปรับลดงบภาพรวมลงไปเฉลี่ย 900 ล้านบาท ซึ่งในช่วงย้อนหลัง 5 ปีมีการปรับลดงบลงมาต่อเนื่อง และมีการปรับลดงบมาต่อเนื่อง ปรับลดมาทุกปี แต่หนักสุดคือปี 2565

“ถ้าเทียบปี 64 อัตราจ้างพนักงานพิทักษ์ป่า 5,163 คน ล่าสุดถูกตัดเหลือ 3,432 คน หายไป 1,731 คนคิดเป็นอัตรา 33 % แต่ไม่ได้ลดทั้งหมด กรมฯ นำเงินรายได้ค่าธรรมเนียมมาสนับสนุนปีละกว่า 200 ล้านบาท เหมือนเป็นเงินประคอง ทำให้เจ้าหน้าที่เราถูกให้ออกบางส่วน แต่ถูกส่วนหนึ่งยอมอยู่ด้วยกัน”

เมื่อถามว่าถ้าปีหน้ายังถูกปรับลดงบอีก ผอ.สำนักอุทยานแห่งชาติ กล่าวว่า ยอมรับว่าหนักใจ เรื่องการคุ้มครองพื้นที่จากกำลังคนที่ลดลง ในอดีตนำเงินรายได้จากค่าธรรมเนียม ไปช่วยเจ้าหน้าที่พิทักษ์ป่าที่มีรายได้เฉลี่ย 9,000 บาท ทำให้นายธัญญา เนติธรรมกุล อธิบดีกรมอุทยานฯ อนุมัติให้ใช้เงินค่าธรรมเนียมนำมาสนับสนุนด้วย และลูกน้องเฉลี่ยปีละ 200 กว่าล้านบาท

นายดำรัส กล่าวว่า ตอนนี้ให้มีเบี้ยเลี้ยงจากการเดินป่าชั่วโมงละ 50 บาท หรือเฉลี่ยเพิ่มขึ้นอีกเดือนละ 2,000 บาท ช่วยประคับประคองดู เงินจำนวนนี้อาจจะไม่เยอะสำหรับคนบางคน แต่เชื่อสำหรับผู้พิทักษ์เป็นเงินจำนวนมาก เงิน 2,000 กว่าบาทเขาดีใจมากๆ

“เขายืนยันว่า ถึงแม้จะไม่มีในสิ่งเหล่านี้ ก็ยังทำงานอยู่แล้ว ตรงนี้ทำให้เรารู้สึกถึงจิตใจที่มุ่งมั่นในการทำงาน อยากฝากว่าบุคคลเหล่านี้คือผู้ปิดทองหลังพระ คงไม่มีใครรู้ว่าระหว่างที่หลายคนตามอยู่ในห้างสรรพสินค้า แต่เจ้าหน้าที่ของเราเดินอยู่ในป่ากินนอนในป่าปกป้องทรัพยาของไทย”

นายดำรัส กล่าวอีกว่า ในฐานะคนที่เคยอยู่อุทยานมาอย่างน้อย 4 แห่ง ทำงานกับลูกน้องมาตลอด และคุ้นเคย ได้ไปร่วมลาดตระเวนกับเจ้าหน้าที่ได้เห็นชีวิตการทำงาน ความทุ่มเทความยากลำบาก และทำให้รับรู้ถึงชีวิตของเจ้าหน้าที่พิทักษ์ป่า ซึ่งที่ผ่านมากรมอุทยานฯ เคยผลักดันอยากให้คนทำงานครบ 5 ปี อยากปรับเป็นพนักงานราชการ เพื่อให้มีสวัสดิการต่างๆ

ผอ.สำนักอุทยานแห่งชาติ กล่าวว่า หลังจากมีการปรับลดกำลังคนไปแล้ว ยอมรับว่าเป็นห่วงพื้นที่การลักลอบตัดไม้และล่าสัตว์ป่ามากขึ้น ซึ่งหลังจากนี้เตรียมติดตามว่าจะส่งผลกับคดีป่าไม้ สัตว์ป่าเพิ่มขึ้นหรือไม่ แต่ได้กำชับให้สแกนพื้นที่เสี่ยง โดยเฉพาะอุทยานแห่งชาติในภาคเหนือ ภาคอีสาน และโซนป่าตะวันตก

“สั่งสแกนให้อุทยานที่มีกลุ่มไม้มีค่า ทั้งอีสาน ภาคเหนือ ตะวันตกที่มีคดีสัตว์ป่าให้ปรับแผนคนเหลือน้อย หากต้องโยกคนในกลุ่มงานบริการท่องเที่ยวต้องให้ไปสับเปลี่ยน และยอมถูกตำหนิงานท่องเที่ยว ”

พร้อมกันนี้จะหมั่นลงไปตรวจเยี่ยม พูดคุย เพื่อสร้างขวัญกำลังใจให้กับเจ้าหน้าที่ในพื้นที่ทุกคนบ่อยๆ เพราะรู้ว่าการปรับลดคนครั้งนี้กระทบต่อขวัญกำลังใจ และทางนายวราวุธ ศิลปอาชา รมว.ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม (ทส.) และปลัด ทส.รับทราบเรื่องนี้

ขอบคุณรูปภาพจาก ผู้พิทักษ์ป่า TOR Ranger

วราวุธ สั่งเด็ดขาดหาตัวผู้กระทำผิด ลักลอบตัดไม้มะค่าโมงยักษ์ที่จ.น่าน

เจ้าหน้าที่พิทักษ์ป่า

19 ม.ค.2565 - นายกิตติรัตน์ ณ ระนอง อดีตรองนายกรัฐมนตรีและรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง ในรัฐบาลนางสาวยิ่งลักษณ์ ชินวัตร และอดีตรองหัวหน้าพรรคเพื่อไทย โพสต์ข้อความในเฟกบุ๊ก ว่า "กราบเรียน เจ้าหน้าที่พิทักษ์ป่า 1,731 ท่านที่ถูกรัฐบาลนี้ปลด ถ้าพรรคเพื่อไทยมีอำนาจหน้าที่ เราจะนำพวกท่านกลับมาทันที"

โพสต์ ของนายกิตติรัตน์ สืบเนื่องจาก กรณีมูลนิธิสืบนาคะเสถียร ทำหนังสือถึง พล.อ.ประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรี เพื่อให้พิจารณาการจัดสรรงบประมาณจ้างงานของ เจ้าหน้าที่พิทักษ์ป่า ซึ่งจะได้รับผลกระทบต่อพนักงานจ้างเหมาของอุทยานแห่งชาติทั่วประเทศ และอาจถูกเลิกจ้างสูงถึง 50 %

และเมื่อ 14 ม.ค.ที่ผ่านมา นายดำรัส โพธิ์ประสิทธิ์ ผอ.สำนักอุทยานแห่งชาติ กรมอุทยานแห่งชาติสัตว์ป่าและพันธุ์พืช ให้สัมภาษณ์ ไทยพีบีเอสออนไลน์ ว่า การปรับลดจำนวนเจ้าหน้าที่พิทักษ์ป่า ของกรมอุทยานแห่งชาติฯ โดยจากปัญหาดังกล่าว กรมอุทยานฯ ให้แต่ละอุทยานฯ ไปพิจารณา 2 ทางเลือกคือปรับคนออก และปรับลดเงินลง แต่ส่วนใหญ่ 80 % จะใช้วิธีลดเงินเดือนลง ซึ่งจากการไปตรวจเยี่ยมยอมรับว่าสะเทือนใจพอสมควร แต่ขวัญกำลังใจทุกคนยังพร้อมทำงาน

“ไม่อยากให้ตกงานทันที เพราะคนกลุ่มนี้ก็มีครอบครัวที่ต้องได้รับผลกระทบจากโควิดเท่ากับซ้ำเติม จึงเจรจาขอปรับลดเงินเดือนลง เพื่อประคับประคองโดยปรับลดเงินเดือนลง แต่ปีนี้บางคนที่อยู่ต้องยอมลดเงินเดือนลงจากเฉลี่ย 9,000 บาท เหลือเพียงเดือนละ 7,500 บาท”

ผอ.สำนักอุทยานแห่งชาติ กล่าวอีกว่า ภาพรวมปีงบประมาณ 2565 กรมอุทยานฯ ถูกปรับลดงบภาพรวมลงไปเฉลี่ย 900 ล้านบาท ซึ่งในช่วงย้อนหลัง 5 ปีมีการปรับลดงบลงมาต่อเนื่อง และมีการปรับลดงบมาต่อเนื่อง ปรับลดมาทุกปี แต่หนักสุดคือปี 2565

“ถ้าเทียบปี 64 อัตราจ้างพนักงานพิทักษ์ป่า 5,163 คน ล่าสุดถูกตัดเหลือ 3,432 คน หายไป 1,731 คนคิดเป็นอัตรา 33 % แต่ไม่ได้ลดทั้งหมด กรมฯ นำเงินรายได้ค่าธรรมเนียมมาสนับสนุนปีละกว่า 200 ล้านบาท เหมือนเป็นเงินประคอง ทำให้เจ้าหน้าที่เราถูกให้ออกบางส่วน แต่ถูกส่วนหนึ่งยอมอยู่ด้วยกัน”

เมื่อถามว่าถ้าปีหน้ายังถูกปรับลดงบอีก ผอ.สำนักอุทยานแห่งชาติ กล่าวว่า ยอมรับว่าหนักใจ เรื่องการคุ้มครองพื้นที่จากกำลังคนที่ลดลง ในอดีตนำเงินรายได้จากค่าธรรมเนียม ไปช่วยเจ้าหน้าที่พิทักษ์ป่าที่มีรายได้เฉลี่ย 9,000 บาท ทำให้นายธัญญา เนติธรรมกุล อธิบดีกรมอุทยานฯ อนุมัติให้ใช้เงินค่าธรรมเนียมนำมาสนับสนุนด้วย และลูกน้องเฉลี่ยปีละ 200 กว่าล้านบาท

นายดำรัส กล่าวว่า ตอนนี้ให้มีเบี้ยเลี้ยงจากการเดินป่าชั่วโมงละ 50 บาท หรือเฉลี่ยเพิ่มขึ้นอีกเดือนละ 2,000 บาท ช่วยประคับประคองดู เงินจำนวนนี้อาจจะไม่เยอะสำหรับคนบางคน แต่เชื่อสำหรับผู้พิทักษ์เป็นเงินจำนวนมาก เงิน 2,000 กว่าบาทเขาดีใจมากๆ

“เขายืนยันว่า ถึงแม้จะไม่มีในสิ่งเหล่านี้ ก็ยังทำงานอยู่แล้ว ตรงนี้ทำให้เรารู้สึกถึงจิตใจที่มุ่งมั่นในการทำงาน อยากฝากว่าบุคคลเหล่านี้คือผู้ปิดทองหลังพระ คงไม่มีใครรู้ว่าระหว่างที่หลายคนตามอยู่ในห้างสรรพสินค้า แต่เจ้าหน้าที่ของเราเดินอยู่ในป่ากินนอนในป่าปกป้องทรัพยาของไทย”

นายดำรัส กล่าวอีกว่า ในฐานะคนที่เคยอยู่อุทยานมาอย่างน้อย 4 แห่ง ทำงานกับลูกน้องมาตลอด และคุ้นเคย ได้ไปร่วมลาดตระเวนกับเจ้าหน้าที่ได้เห็นชีวิตการทำงาน ความทุ่มเทความยากลำบาก และทำให้รับรู้ถึงชีวิตของเจ้าหน้าที่พิทักษ์ป่า ซึ่งที่ผ่านมากรมอุทยานฯ เคยผลักดันอยากให้คนทำงานครบ 5 ปี อยากปรับเป็นพนักงานราชการ เพื่อให้มีสวัสดิการต่างๆ

ผอ.สำนักอุทยานแห่งชาติ กล่าวว่า หลังจากมีการปรับลดกำลังคนไปแล้ว ยอมรับว่าเป็นห่วงพื้นที่การลักลอบตัดไม้และล่าสัตว์ป่ามากขึ้น ซึ่งหลังจากนี้เตรียมติดตามว่าจะส่งผลกับคดีป่าไม้ สัตว์ป่าเพิ่มขึ้นหรือไม่ แต่ได้กำชับให้สแกนพื้นที่เสี่ยง โดยเฉพาะอุทยานแห่งชาติในภาคเหนือ ภาคอีสาน และโซนป่าตะวันตก

“สั่งสแกนให้อุทยานที่มีกลุ่มไม้มีค่า ทั้งอีสาน ภาคเหนือ ตะวันตกที่มีคดีสัตว์ป่าให้ปรับแผนคนเหลือน้อย หากต้องโยกคนในกลุ่มงานบริการท่องเที่ยวต้องให้ไปสับเปลี่ยน และยอมถูกตำหนิงานท่องเที่ยว ”

พร้อมกันนี้จะหมั่นลงไปตรวจเยี่ยม พูดคุย เพื่อสร้างขวัญกำลังใจให้กับเจ้าหน้าที่ในพื้นที่ทุกคนบ่อยๆ เพราะรู้ว่าการปรับลดคนครั้งนี้กระทบต่อขวัญกำลังใจ และทางนายวราวุธ ศิลปอาชา รมว.ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม (ทส.) และปลัด ทส.รับทราบเรื่องนี้

ขอบคุณรูปภาพจาก ผู้พิทักษ์ป่า TOR Ranger

วราวุธ สั่งเด็ดขาดหาตัวผู้กระทำผิด ลักลอบตัดไม้มะค่าโมงยักษ์ที่จ.น่าน

เพิ่มเพื่อน

ข่าวที่เกี่ยวข้อง

เปิดภารกิจ 'กิตติรัตน์' ในตำแหน่งที่ปรึกษาของนายกฯ ทำหลุดเก้าอี้ 'ประธานบอร์ดแบงก์ชาติ'

กรณีที่ประชุมคณะกรรมการกฤษฎีการ่วม 3 คณะ มีมติด้วยเสียงข้างมากเห็นว่า นายกิตติรัตน์ ณ ระนอง ผู้ได้รับการคัดเลือกจากคณะกรรมการสรรหาให้เป็นผู้ดำรงตำแหน่งประธานคณะกรรมการธนาคารแห่งประเทศไทย (ธปท.) หรือ ประธานบอร์ดแบงก์ชาติ

จี้ 'พิชัย' พ้นเก้าอี้ รมว.คลัง ความผิดสำเร็จ เสนอชื่อ 'กิตติรัตน์' ขาดคุณสมบัติเป็นปธ.บอร์ดแบงก์ชาติ

นายพิชิต ไชยมงคล แกนนำเครือข่ายนักศึกษาประชาชนปฏิรูปประเทศไทย (คปท.) โพสต์ระบุว่า ไม่รอด กิตติรัตน์ ณ ระนอง ขาดคุณสมบัติ เป็นประธานบอร์ดแบงค์ชาติ เพราะนั่งที่ปรึกษาของนายกฯ

'วังบางขุนพรหม' ฝุ่นตลบ! อีกหนึ่งตัวเต็งส่อวืดเสียบแทน 'กิตติรัตน์' นั่งปธ.บอร์ดแบงก์ชาติ

นายสถิตย์ ลิ่มพงศ์พันธุ์ อดีตปลัดกระทรวงการคลัง ในฐานะประธานคณะกรรมการคัดเลือกประธานบอร์ดธปท.กล่าวถึงกรระแสข่าวคณะกรรมการกฤษฎีกาฯ มีความเห็นเบื้องต้นว่านายกิตติรัตน์ ณ ระนอง

เลขาฯกฤษฎีกา ยันยังไม่มีข้อสรุป ปม 'กิตติรัตน์' ประชุมพรุ่งนี้อีกรอบ

นายปกรณ์ นิลประพันธ์ เลขาธิการคณะกรรมการกฤษฎีกา เปิดเผยถึงกรณีการแต่งตั้งนายกิตติรัตน์ ณ ระนอง อดีตรองนายกฯ เป็นประธานคณะกรรมการธนาคารแห่งประเทศไทย (ธปท.) หรือประธานบอร์ดแบงก์ชาติ ว่า ขณะนี้คณะกรรมการกฤษฎีกา

เลขาฯกฤษฎีกา ชิ่งตอบสื่อ ปม 'กิตติรัตน์' ไม่ผ่านคุณสมบัตินั่งประธานบอร์ดแบงก์ชาติ

นายปกรณ์ นิลประพันธ์ เลขาธิการคณะกรรมการกฤษฎีกา ปฏิเสธให้สัมภาษณ์สื่อมวลชน ภายหลังเสร็จสิ้นการประชุมคณะรัฐมนตรี (ครม.) กรณีให้ความเห็นเรื่องนายกิตติรัตน์ ณ ระนอง ไม่ผ่านคุณสมบัติที่จะเข้ารับตำแหน่งประธานคณะกรรมการธนาคารแห่งประเทศไทย

'กิตติรัตน์' เคลื่อนไหว! หลังไม่ผ่านคุณสมบัตินั่งประธานบอร์ดแบงก์ชาติ

นายกิตติรัตน์ ณ ระนอง โพสต์เฟซบุ๊กกรณีคุณสมบัติไม่ผ่านเกณฑ์การดำรงตำแหน่งประธานคณะกรรมการธนาคารแห่งประเทศไทย โดบระบุว่า ในฐานะประชาชนคนหนึ่ง ผมไม่มีอะไรค้างคาใจ