13 ก.ย.2566 - ที่ทำเนียบรัฐบาล นายชัย วัชรงค์ โฆษกประจำสำนักนายกรัฐมนตรี เผยผลการประชุมคณะรัฐมนตรีวันที่ 13 กันยายน 2566 ในเรื่องแต่งตั้งข้าราชการการเมือง ดังนี้
คณะรัฐมนตรีมีมติเห็นชอบตามที่กระทรวงการต่างประเทศเสนอแต่งตั้งข้าราชการการเมือง ดังนี้
1. นายมาริษ เสงี่ยมพงษ์ ให้ดำรงตำแหน่งที่ปรึกษารัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ
2. นายธนรัช จงสุทธนามณี ให้ดำรงตำแหน่งเลขานุการรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ
3. นายรัศม์ ชาลีจันทร์ ให้ดำรงตำแหน่งที่ปรึกษารัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงการต่างประเทศ
ทั้งนี้ ตั้งแต่วันที่ 13 กันยายน 2566 เป็นต้นไป
คณะรัฐมนตรีมีมติเห็นชอบตามที่กระทรวงคมนาคมเสนอการแต่งตั้งข้าราชการการเมือง นายพงศ์กวิน จึงรุ่งเรืองกิจ ดำรงตำแหน่งที่ปรึกษารัฐมนตรีว่าการกระทรวงคมนาคม และนายสรวุฒิ เนื่องจำนงค์ ดำรงตำแหน่งเลขานุการรัฐมนตรีว่าการกระทรวงคมนาคม ทั้งนี้ ตั้งแต่วันที่ 13 กันยายน 2566 เป็นต้นไป
คณะรัฐมนตรีมีมติเห็นชอบตามที่กระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคมเสนอการแต่งตั้งข้าราชการการเมือง จำนวน 2 ราย ดังนี้
1. นายสุทธิเกียรติ วีระกิจพานิช ดำรงตำแหน่ง ที่ปรึกษารัฐมนตรีว่าการกระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม
2. นายวัลลภ รุจิรากร ดำรงตำแหน่ง เลขานุการรัฐมนตรีว่าการกระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม
ทั้งนี้ ตั้งแต่วันที่ 13 กันยายน 2566 เป็นต้นไป
คณะรัฐมนตรีมีมติเห็นชอบตามที่กระทรวงพาณิชย์เสนอการแต่งตั้งข้าราชการการเมือง จำนวน 4 ราย ดังนี้
1. นายกองตรี พิสิษฏ์ พิพัฒน์วิไลกุล ให้ดำรงตำแหน่งที่ปรึกษารัฐมนตรีว่าการกระทรวงพาณิชย์
2. นายปัญญา ชวนบุญ ให้ดำรงตำแหน่งที่ปรึกษารัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงพาณิชย์ (นายนภินทร ศรีสรรพางค์)
3. นายกฤษฎา ตันเทอดทิตย์ ให้ดำรงตำแหน่งเลขานุการรัฐมนตรีว่าการกระทรวงพาณิชย์
4. นายกฤษฏ์ เพ็ญสุภา ให้ดำรงตำแหน่งผู้ช่วยเลขานุการรัฐมนตรีว่าการกระทรวงพาณิชย์ [รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงพาณิชย์ (นายนภินทร ศรีสรรพางค์)]
ทั้งนี้ ตั้งแต่วันที่ 13 กันยายน 2566 เป็นต้นไป
คณะรัฐมนตรีมีมติเห็นชอบตามที่กระทรวงมหาดไทยเสนอแต่งตั้งข้าราชการการเมือง ดังนี้
1. นายสมเจตน์ ลิมปะพันธุ์ ให้ดำรงตำแหน่งที่ปรึกษารัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย
2. นางสาวไตรศุลี ไตรสรณกุล ให้ดำรงตำแหน่งเลขานุการรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย
ทั้งนี้ ตั้งแต่วันที่ 13 กันยายน 2566 เป็นต้นไป
คณะรัฐมนตรีมีมติเห็นชอบตามที่กระทรวงแรงงานเสนอการแต่งตั้ง นายธนัสถ์ ทวีเกื้อกูลกิจ เป็นข้าราชการการเมือง ตำแหน่งที่ปรึกษารัฐมนตรีว่าการกระทรวงแรงงาน ทั้งนี้ ตั้งแต่วันที่ 13 กันยายน 2566 เป็นต้นไป
คณะรัฐมนตรีมีมติเห็นชอบตามที่กระทรวงสาธารณสุขเสนอการแต่งตั้งข้าราชการการเมือง ดังนี้
1. นายวิชาญ มีนชัยนันท์ ดำรงตำแหน่ง ที่ปรึกษารัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข
2. นาวาอากาศตรี พลเทพ สุนทโร ดำรงตำแหน่ง เลขานุการรัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข
ทั้งนี้ ตั้งแต่วันที่ 13 กันยายน 2566 เป็นต้นไป
คณะรัฐมนตรีมีมติเห็นชอบตามที่สำนักเลขาธิการนายกรัฐมนตรีเสนอการแต่งตั้งบุคคลให้ดำรงตำแหน่งข้าราชการการเมือง จำนวน 4 ราย ดังนี้
1. นายสมคิด เชื้อคง ตำแหน่งรองเลขาธิการนายกรัฐมนตรีฝ่ายการเมือง
2. นายจักรพล ตั้งสุทธิธรรม ตำแหน่งรองเลขาธิการนายกรัฐมนตรีฝ่ายการเมือง
3. นายพงศ์ศรัณย์ อัศวชัยโสภณ ตำแหน่งรองเลขาธิการนายกรัฐมนตรีฝ่ายการเมือง
4. นายชัย วัชรงค์ ตำแหน่งโฆษกประจำสำนักนายกรัฐมนตรี
ทั้งนี้ ตั้งแต่วันที่ 13 กันยายน 2566 เป็นต้นไป
คณะรัฐมนตรีมีมติเห็นชอบตามที่กระทรวงการคลังเสนอการแต่งตั้งข้าราชการการเมือง จำนวน 3 ราย ดังนี้
1. นายมานะศักดิ์ จันทร์ประสงค์ ดำรงตำแหน่ง ที่ปรึกษารัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงการคลัง
2. นายเผ่าภูมิ โรจนสกุล ดำรงตำแหน่ง เลขานุการรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง
3. นายณัฏฐ์พัฒน์ รัฐผไท ดำรงตำแหน่ง ผู้ช่วยเลขานุการรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง
ทั้งนี้ ตั้งแต่วันที่ 13 กันยายน 2566 เป็นต้นไป
คณะรัฐมนตรีมีมติเห็นชอบตามที่กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์เสนอการแต่งตั้งข้าราชการการเมือง คือ นายธเนศพล ธนบุณยวัฒน์ ในตำแหน่งเลขานุการรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ ทั้งนี้ตั้งแต่วันที่ 13 กันยายน 2566 เป็นต้นไป
คณะรัฐมนตรีมีมติเห็นชอบตามที่สำนักเลขาธิการนายกรัฐมนตรีเสนอแต่งตั้งนายสีหศักดิ์ พวงเกตุแก้ว เป็นกรรมการผู้ช่วยรัฐมนตรี โดยให้มีผลตั้งแต่วันที่นายกรัฐมนตรีลงนามในประกาศแต่งตั้ง
คณะรัฐมนตรีมีมติเห็นชอบตามที่กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรมเสนอการแต่งตั้งข้าราชการการเมือง นางสาวเพชรดาว โต๊ะมีนา ดำรงตำแหน่งที่ปรึกษารัฐมนตรีว่าการกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม ทั้งนี้ ตั้งแต่วันที่ 13 กันยายน 2566 เป็นต้นไป
คณะรัฐมนตรีมีมติเห็นชอบตามที่กระทรวงกลาโหมเสนอการแต่งตั้ง พลเอกสมศักดิ์ รุ่งสิตา ให้ดำรงตำแหน่งที่ปรึกษารัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม และ พลเอก ณัฐพล นาคพาณิชย์ ให้ดำรงตำแหน่งเลขานุการรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหมทั้งนี้ ตั้งแต่วันที่ 13 กันยายน 2566 เป็นต้นไป
คณะรัฐมนตรีมีมติเห็นชอบตามที่กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬาเสนอการแต่งตั้งข้าราชการการเมือง จำนวน 2 ราย ดังนี้
1. นายณณัฏฐ์ หงษ์ชูเวช ดำรงตำแหน่ง ที่ปรึกษารัฐมนตรีว่าการกระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา
2. นายกิตติ เชาวน์ดี ดำรงตำแหน่ง เลขานุการรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา
ทั้งนี้ ตั้งแต่วันที่ 13 กันยายน 2566 เป็นต้นไป
คณะรัฐมนตรีมีมติเห็นชอบตามที่กระทรวงศึกษาธิการเสนอการแต่งตั้งข้าราชการการเมือง จำนวน 4 ราย ดังนี้
1. นายเชิดศักดิ์ โภคกุลกานนท์ ตำแหน่งที่ปรึกษารัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ
2. นายวิศรุต ปู่เพ็ง ตำแหน่งที่ปรึกษารัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงศึกษาธิการ
3. นายนพ ชีวานันท์ ตำแหน่งเลขานุการรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ
4. นายพิษณุ พลธี ตำแหน่งผู้ช่วยเลขานุการรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ
ทั้งนี้ ตั้งแต่วันที่ 13 กันยายน 2566 เป็นต้นไป
ข่าวที่เกี่ยวข้อง
‘พล.ร.อ.พัลลัภ’ เตือนภัย กับดักบันได 3 ขั้น พ่ายเขมรเสียดินแดน..!! I อิสรภาพแห่งความคิด กับ..สำราญ รอดเพชร
อิสรภาพแห่งความคิด กับ..สำราญ รอดเพชร : วันเสาร์ที่ 02 พฤศจิกายน 2567
'เทพไท' เรียกร้องนิรโทษกรรมทุกกลุ่ม รวมคดี 112 ด้วย
นายเทพไท เสนพงศ์ อดีตสส.นครศรีธรรมราช โพสต์เฟซบุ๊กเรื่อง "พรบ.นิรโทษกรรม:ปรองดองจริงหรือ?" ระบุว่ากรณีนายนพดล ปัทมะ สส.บัญชีรายชื่อ พรรคเพื่อไทย กล่าวถึงการยื่นร่างพระราชบัญญัติ (พ.ร.
‘พล.ร.อ.พัลลัภ’ เตือนภัย กับดักบันได 3 ขั้น พ่ายเขมรเสียดินแดน..!! | อิสรภาพแห่งความคิด กับ..สำราญ รอดเพชร
อิสรภาพแห่งความคิด กับ..สำราญ รอดเพชร : วันเสาร์ที่ 2 พฤศจิกายน 2567
ดร.เสรี ถามลั่น มีกิน มีใช้ มีเกียรติ มีศักดิ์ศรี เกิดขึ้นกี่โมง?
ดร.เสรี วงษ์มณฑา นักวิชาการด้านการตลาอดและการสื่อสาร โพสต์เฟซบุ๊กว่า ทำงานไม่เป็น ไม่เห็นผลงานเชิงประจักษ์ใดๆ ที่หาเสียง
ไทยในสายตาต่างชาติ (ตอนที่ 45: พระราชกฤษฎีกา 1 เมษายน 2476 คือ การทำรัฐประหารเงียบหรือ ?)
ในตอนที่แล้ว ผู้เขียนได้สรุปเหตุการณ์สำคัญต่างๆที่เป็นเงื่อนไขที่นำมาสู่การประกาศพระราชกฤษฎีกาวันที่ 1 เมษายน พ.ศ. 2476 อันเป็นพระราชกฤษฎีกาปิดประชุมสภาผู้แทนราษฎร
'ดร.ณัฏฐ์' นักกฎหมายมหาชน ฟันธงตัวแปรรัฐบาลชิงยุบสภา ยังไม่เกิด
ดร.ณัฐวุฒิ วงศ์เนียม หรือ “ดร.ณัฏฐ์” นักกฎหมายมหาชน กล่าวถึงกระแสข่าวฐบาลมีโอกาสชิงยุบสภา จะเกิดขึ้นก่อนที่ศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัย