“พิชัย” แจงยิบยังอยู่พรรคเพื่อไทย ไม่ได้ลาออก ทำหน้าที่ตามปกติ ลั่นทำหน้าที่จนกว่าจะชนะเลือกตั้งได้อันดับ 1 อีกครั้ง
29 พ.ค.2566 – นายพิชัย นริพทะพันธุ์ อดีต รมว. พลังงาน และ รองประธานคณะกรรมการยุทธศาสตร์และการเมืองพรรคเพื่อไทย กล่าวว่า ตามที่มีการปล่อยข่าวว่าตนเองได้ลาออกจากพรรคเพื่อไทย ขอยืนยันว่าไม่เป็นความจริง ตนเองยังอยู่พรรคเพื่อไทย และ ช่วยงานพรรคเพื่อไทยมาตลอด อีกทั้งตนเองยังร่วมประชุมคณะกรรมการยุทธศาสตร์ของพรรคเพื่อไทยทุกสัปดาห์ รวมถึง ประชุมคณะกรรมการสื่อสารการเมืองด้วย
“ทั้งนี้ ไม่แน่ใจน่าผู้ที่ปล่อยข่าวมีจุดประสงค์อย่างใด แต่ผมขอยืนยันว่าจะอยู่พรรคเพื่อไทย และ จะอยู่ช่วยพรรคเพื่อไทยปรับปรุงแก้ไข เพื่อให้กลับมาชนะการเลือกตั้งได้อีกครั้ง และเชื่อว่าพรรคเพื่อไทยจะสามารถปรับปรุงแก้ไข กลับมาชนะการเลือกตั้งเป็นพรรคอันดับหนึ่งอีกครั้ง จึงอยากชี้แจงให้ชัดเจน” นายพิชัย ระบุ.
ข่าวที่เกี่ยวข้อง
เทวดาแม้วของขึ้น! เปิดศึกขาประจำกว่า 10 คน รวม ‘แก้วสรร-แฝดน้อง‘
นายทักษิณ ชินวัตร อดีตนายกรัฐมนตรี พ่อน.ส.แพทองธาร ชินวัตร นายกรัฐมนตรี ให้สัมภาษณ์ถึงฉายา “ทวีไอพี” ของ พ.ต.อ.ทวี สอดส่อง รัฐมนตรีว่าการ
'ทักษิณ' ถึงเชียงใหม่ ช่วยหาเสียงนายก อบจ. 'สว.ก๊อง' คึกมั่นใจชนะล้านเปอร์เซ็นต์
'ทักษิณ' ถึงเชียงใหม่ 'เจ๊แดง-สมชาย-พิชัย' ต้อนรับ แวะกินก๋วยเตี๋ยวร้านมิชเชอร์ลิน 7 ปีซ้อน ก่อนช่วงเย็นขึ้นปราศรัยหาเสียงช่วยผู้สมัครนายก อบจ. 'สว.ก๊อง' ลั่นมั่นใจล้านเปอร์เซ็นต์
'อิ๊งค์' ยิ้มร่ารับฉายา 'รัฐบาลพ่อเลี้ยง' แซวตัวเอง 'แพทองแพด' แฮปปี้ไม่เกลียดใคร
'นายกฯอิ๊งค์' ยิ้มแย้ม ไม่โกรธฉายา 'รัฐบาลพ่อเลี้ยง' ขอมองมุมดี พ่อมีประสบการณ์เพียบช่วยหนุน หยอกสื่อกลับ 'แพทองแพด' ไม่ใช่แพทองโพย บอกไม่ค่อยเกลียดใครมันเหนื่อย แฮปปี้เข้าไว้
'เท้ง' ลุ้น! ฉายาผู้นำฝ่ายค้าน เมินตอบ 'รัฐบาลพ่อเลี้ยง-แพทองโพย'
'เท้ง' ยิ้ม ปัดให้ความเห็น 'ฉายารัฐบาล-นายกฯ' บอกอยากฟังของตัวเองมากกว่า ชี้สื่อทำเนียบ-รัฐสภามีสิทธิ์ตั้งคำถาม พร้อมรับมาสะท้อนปรับปรุงการทำงาน
'รัฐบาลพ่อเลี้ยง' ฉายารัฐบาลปี67 นายกฯ'แพทองโพย' อนุทิน'ภูมิใจขวาง' วาทะแห่งปี'สามีเป็นคนใต้'
สื่อทำเนียบฯ ตั้งฉายาปี 67 'รัฐบาล(พ่อ)เลี้ยง' ส่วนฉายานายกฯ 'แพทองโพย' 7 รมต.ติดโผ 'บิ๊กอ้วน-อนุทิน-ทวี' พ่วง 3 รมต.โลกลืม
เหลียวหลังแลหน้า การเมืองไทย จาก 2567 สู่ 2568 ส่องจุดจบ ระบอบทักษิณภาค 2
รายการ"ไทยโพสต์ อิสรภาพแห่งความคิด"สัมภาษณ์ นักวิชาการ-นักการเมือง สองคน เพื่อมา"เหลียวหลังการเมืองไทยปี 2567 และแลไปข้างหน้า