28 ธ.ค.2565 - เวลา 13.00 น.ที่รัฐสภา นายชวน หลีกภัย ประธานสภาผู้แทนราษฏร ให้สัมภาษณ์ถึงกรณีสื่อมวลชนสภาตั้งฉายา"ชวน ซวนเซ"ว่า ไม่เซ ไม่เมาก็ไม่เซ เราต้องมั่นคง การยึดหลักการก็อาจจะเป็นไปได้ที่สมาชิกไม่เห็นด้วย เช่น ลงมติว่า เรื่องนี้ควรจะลงมติใหม่หรือไม่ อย่างนี้สมาชิกส่วนหนึ่ง เขาก็ไม่เห็นด้วยและคัดค้าน แต่ประธานต้องยึดว่าหลักเป็นอย่างไร ไม่สามารถเบี่ยงเบนเป็นอย่างอื่นได้ ฉะนั้นไปซวนเซอะไรไม่ได้ สมาชิกไม่พอใจก็เป็นไปได้ เป็นเรื่องธรรมดา แต่เขาไม่พอใจ เพราะเราไม่ตามใจ ดังนั้นหลักก็ต้องมั่นคง
เมื่อถามถึงฉายาสภา “3วันหนี 4 วันล่ม” นายชวนกล่าวว่า คิดว่าต้องให้ความเป็นธรรมกับสภาว่า ไม่ได้เกิดบ่อย เพียงแต่ช่วงปลายมีปัญหาหน่อย แต่ถึงอย่างไร สภาฯชุดนี้ก็มีผลงานมากที่สุดเท่าที่เคยมีมา
ข่าวที่เกี่ยวข้อง
สส.เพื่อไทย ดี๊ด๊า ประเทศไทยมีระบบที่เป็นมาตรฐาน!
นายอนุสรณ์ เอี่ยมสะอาด สส.บัญชีรายชื่อ พรรคเพื่อไทย (พท.) กล่าวว่าประชาชนที่ติดตามเรื่องนี้คงสบายใจขึ้นที่ศาลรัฐธรรมนูญมีมติไม่รับ
'อิ๊งค์' ยิ้มรับ 'พ่อ-เพื่อไทย' รอดล้มล้างปกครอง ชาวเน็ตชี้จากนี้ไป 'ทักษิณ' ใส่เกียร์เหลิง
จากกรณีตุลาการศาลรัฐธรรมนูญ มีมติไม่รับไว้พิจารณาวินิจฉัย คำร้องที่นายธีรยุทธ สุวรรณเกษร ในฐานะประชาชน ยื่นคำร้องต่อศาลรัฐธรรมนูญ ขอให้ศาลรัฐธรรมนูญพิจารณาวินิจฉัยตามรัฐธรรมนูญ
ระทึกสุดขีด! 22 พ.ย. ศาลรธน.ลงมติ 'รับ-ไม่รับ' คำร้อง 'ทักษิณ-เพื่อไทย' ล้มล้างการปกครอง
คอนเฟิร์ม ศุกร์นี้ 22 พ.ย. 9 ตุลาการศาลรธน.นัดประชุมวาระพิเศษ หลังงดมาสองรอบ เตรียมนำหนังสือ-ความเห็นอัยการสูงสุด กางบนโต๊ะประชุม ก่อนลุ้นโหวตลงมติ”รับ-ไม่รับคำร้อง”คดีทักษิณ-เพื่อไทย โดนร้องล้มล้างการปกครองฯ
'แพทองธาร' โชว์วิชั่น การเมืองมีเสถียรภาพ ประเทศไทยจะดีขึ้น!
นายกฯ โชว์วิชั่น Forbes ไทยสงบ สันติ หวังรัฐบาลเปลี่ยน นายกฯเปลี่ยน แต่นโยบายเพื่อปชช.เดินหน้า บอกต่างชาติเจอคำถามแรกถามพ่อ-อาเป็นอย่างไร ย้ำการเมืองมั่นคง มีเสถียรภาพแน่นอน
ไทยในสายตาต่างชาติ (ตอนที่ 48: พระราชกฤษฎีกา 1 เมษายน 2476 คือ การทำรัฐประหารเงียบหรือ ?)
ในตอนที่แล้ว ผู้เขียนได้สรุปเหตุการณ์สำคัญต่างๆที่เป็นเงื่อนไขที่นำมาสู่การประกาศพระราชกฤษฎีกาวันที่ 1 เมษายน พ.ศ. 2476
รู้ไว้ซะ 'ปิยบุตร' เผย 'ทักษิณ' ได้กลับบ้าน เพราะก้าวไกลชนะเลือกตั้ง!
นายปิยบุตร แสงกนกกุล เลขาธิการคณะก้าวหน้า โพสต์เฟซบุ๊กว่า สัปดาห์ที่ผ่านมา มีเรื่องหนึ่งที่ถูกหยิบยกมาถกเถียงกันอีกครั้ง