โฆษกก้าวไกล ทวิตจากห้องประชุมรัฐสภา ประกาศตัวเป็น 1 ใน 1.3 แสนชื่อ ล้ม โละ เลิก ล้าง รัฐธรรมนูญ

16 พ.ย.2564- มิ้นท์-สุทธวรรณ สุบรรณ ณ อยุธยา ส.ส.นครปฐม เขต3 โฆษกพรรคก้าวไกล ทวิตข้อความจากห้องประชุมรัฐสภาว่า

ล้ม วุฒิสภา

โละ ศาลรัฐธรรมนูญ องค์กรอิสระ

เลิก ยุทธศาสตร์ชาติ แผนปฏิรูปประเทศ

ล้าง มรดกรัฐประหาร

มิ้นท์คือ 1 ใน 135,247 คน ที่ร่วมลงชื่อกับ Re-Solution และวันนี้ขอเป็น 1 ใน 723 คนของสมาชิกรัฐสภา ที่จะโหวตรับร่างรัฐธรรมนูญฉบับประชาชนค่ะ.

เพิ่มเพื่อน

ข่าวที่เกี่ยวข้อง

รู้ทันกลเกมนักการเมือง แก้รัฐธรรมนูญมาตรา 256 ใครได้ใครเสีย?

ประชาธิปไตยจะไม่มีทางเบ่งบานได้เลย หากประชาชนยังไม่รู้เท่าทันกลเกมของนักการเมือง ที่มักแอบอ้างประชาชนในการกระทำสิ่งต่างๆ เพื่อผลประโยชน์ส่วนตน การเมืองไทยทุกวันนี้ยังคงเป็นพื้นที่ของคนรวยที่อยากมีอภิสิทธิ์เหนือคนทั่วไป หรืออยากได้อำนาจรัฐมา

ดร.ณัฏฐ์ ชี้ร่างแก้ไขรธน.เพิ่มหมวด 15/1 ตั้งสสร.ร่างรธน.ฉบับใหม่ มีผลเท่ากับยกเลิกรธน.ทั้งฉบับ

ดร.ณัฐวุฒิ วงศ์เนียม หรือ ดร.ณัฏฐ์  นักกฎหมายมหาชน กล่าวถึงกรณีพรรคเพื่อไทยเตรียมขอมติจากที่ประชุม สส.ของพรรค เห็นชอบกับร่างแก้ไขรัฐธรรมนูญที่ฝ่ายกฎหมายของพรรคจัดทำไว้เสนอประกบกับร่างของ

รักษาจุดยืนพรรค ’ชูศักดิ์’ ปัดตอบ ‘พริษฐ์’ มอง พท. มีโอกาสกลับลำไม่แก้ รธน. บางประเด็น

’ชูศักดิ์‘ ปัดคอมเมนต์ ‘พริษฐ์’ มอง ‘เพื่อไทย’ มีโอกาสกลับลำไม่แก้บางประเด็น ย้ำชัดต้องรักษาจุดยืนของพรรค โยน ‘วิสุทธิ์’ ตัดสินใจประชุมร่วมฯ แก้ รธน. 14-15 ม.ค.หรือไม่ เมิน เสียงวิจารณ์ พท.คว่ำร่าง ปชน.บอกเป็นแค่เสียง ต้องรอดูถกในสภาฯ

‘คำนูณ’ ยันแก้ รธน. มาตรา 256 เพิ่มเติมหมวดใหม่ ต้องมีประชามติ สอบถาม ปชช.ก่อน

จะแก้รัฐธรรมนูญ 2560 มาตรา 256 เพิ่มเติมหมวดใหม่ว่าด้วยการจัดทำรัฐธรรมนูญใหม่ทั้งฉบับ ศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัยไว้แล้วว่าทำได้ แต่จะต้องจัดให้มีประชามติสอบถามประชาชนเสียก่อน

'ชูศักดิ์' เผยครม.ติดจรวจ กม.เพื่อปชช. หาช่องแก้ม. 256 ดันรธน.ใหม่ทันรัฐบาลนี้

นายชูศักดิ์ ศิรินิล รัฐมนตรีประจำสำนักนายกฯ ให้สัมภาษณ์ถึงการเสนอกฎหมายต่อสภาฯในนามรัฐบาล ว่า สิ่งที่รัฐบาลจะขับเคลื่อนนโยบายทางด้าน

ดร.ณัฏฐ์ ชี้ชัด 'ประชามติชั้นเดียว' แค่ยกแรก 'แก้รธน.ทั้งฉบับ' เจอด่านหิน-นโยบายขายฝัน!

“ดร.ณัฏฐ์” มือกฎหมายมหาชน ชี้ กลไกแก้ไขรัฐธรรมนูญทั้งฉบับผ่านด่านหินยาก แม้เพื่อไทยใช้เทคนิคช่องทางพ้น 180 วัน ผ่านร่าง พรบ.ประชามติ เป็นเพียงนโยบายในฝัน