อดีตกรรมการสิทธิฯ ห่วงคำวินิจฉัยล้มล้างการปกครอง อาจนำไปสู่จุดจบของการเรียกร้องอย่างสันติ

แฟ้มภาพ

13 พ.ย.2564 - จากกรณีศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัย คดีที่นายณฐพร โตประยูร อดีตที่ปรึกษาประธานผู้ตรวจการแผ่นดิน ยื่นคำร้องขอให้ศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัยตามรัฐธรรมนูญมาตรา 49 ว่าการกระทำของกลุ่มแกนนำม็อบคณะราษฏร 63 ที่ประกอบด้วย นายอานนท์ นำภา, นายภาณุพงศ์ จาดนอก นางสาวปนัสยา สิทธิจิรวัฒนกุล ซึ่งจัดชุมนุมปราศรัยเมื่อวันที่ 10 ส.ค. 2563 ที่มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศูนย์รังสิตเพื่อเสนอข้อเรียกร้อง10 เข้าข่ายล้มล้างการปกครองอันมีประมหากษัตริย์เป็นประมุข

นางอังคณา นีละไพจิตร อดีตกรรมการสิทธิมนุษชนแห่งชาติ (กสม.) โพสต์เฟซบุ๊กแสดงความกังวลต่อคำวินิจฉัยดังกล่าวว่า "คำวินิจฉัยที่อาจนำไปสู่จุดจบของการเรียกร้องอย่างสันติบนพื้นฐานประชาธิปไตย"

เพิ่มเพื่อน

ข่าวที่เกี่ยวข้อง

'สว.พันธุ์ใหม่' โวยลั่นสภาสูงไม่เป็นอิสระ จี้ประธาน-รองปธ.วุฒิฯป้ายแดง ตอบข้อสงสัยประชาชน

นางอังคณา นีละไพจิตร สมาชิกวุฒิสภา (สว.) ให้สัมภาษณ์ภายหลังการประชุมวุฒิสภา เพื่อเลือกประธาน ถึงกรณีที่รองประธานวุฒิสภาคนที่ 2 เป็นนายบุญส่ง น้อยโสภณ ว่าที่รองประธานวุฒิสภาคนที่ 2 ถือว่าเหนือความคาดหมายหรือไม่ ว่า ไม่

'อังคณา' บ่นอุบมีแต่ชื่อข้าราชการบำนาญ ชิงปธ.วุฒิสภา ไม่เปิดโอกาสให้คนธรรมดา-ผู้หญิง

นางอังคณา นีละไพจิตร สมาชิกวุฒิสภา (สว.) ให้สัมภาษณ์ภายหลังมีการเปิดเผยรายชื่อแคนดิเดตของกลุ่ม สว.สีน้ำเงิน ที่จะลงชิงตำแหน่งประธานสุฒิสภา และรองประธานวุฒิสภา ทางกลุ่ม สว.พันธุ์ใหม่ จะมีการเปลี่ยนแปลงรายชื่อแคนดิเดตอีกหรือไม่ ว่า ไม่เปลี่ยน

'รังสิมันต์' รับสภาพคงสู้คดียุบพรรคยากขึ้นหลังศาลรัฐธรรมนูญขีดเส้นตาย

'โรม' รับคงสู้คดียากขึ้น หลังศาล รธน.นัดชี้ขาดยุบก้าวไกล 7 ส.ค.นี้ ย้ำความสำคัญอยู่ที่กระบวนการ ยกพยานปากสำคัญควรได้ขึ้นไต่สวน ยันพรรคไม่ได้ล้มล้างการปกครอง

อังคณา สว. 2567 ภารกิจ-สิ่งท้าทาย สภาสูง กับโมเดลข้อเสนอ สภาเดี่ยว

การทำงานของสมาชิกวุฒิสภาชุดล่าสุด ที่เรียกกันว่า "สว. 2567" กำลังจะเริ่มต้นขึ้นหลังจากนี้ คาดหมายกันว่า การนัดประชุมวุฒิสภาเพื่อเลือก