11 ธ.ค.2565-รศ.นพ.ธีระ วรธนารัตน์ คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยโพสต์เฟซบุ๊กระบุว่า การระบายอากาศในสถานที่ และห้องหับต่างๆ เป็นเรื่องสำคัญมากในการระบาดระลอกนี้ มีการติดเชื้อจำนวนมาก หลายกรณี ที่มีลักษณะเหมือนกันคือ การทำงาน หรืออยู่ในที่เดียวกัน ห้องเดียวกัน ไม่ว่าจะทำงาน ท่องเที่ยว หรือหาร้านอาหารกินดื่ม ควรดู 3 เรื่องหลัก 1. Airflow มีลมถ่ายเทดีไหม มีพัดลมระบายอากาศไหม 2. แออัดหรือเปล่า หากมีคนจำนวนมาก ควรเลี่ยงไปที่อื่น
3. คนที่นั่งทำงานด้วยกัน พบปะกัน หรือพนักงานที่ให้บริการ มีการป้องกันตัวไหม ใส่หน้ากากถูกต้องไหม หากไม่ใส่ ควรเลี่ยงไปที่อื่น หรือใช้เวลาอยู่ด้วยกันให้สั้นๆ โดยป้องกันตัวเองอย่างเคร่งครัด …ติดกันมากจริงๆ ครับ…
ข่าวที่เกี่ยวข้อง
เปิดข้อมูล ‘ไวรัสโควิด’ สร้างได้ในห้องทดลอง มีจดสิทธิบัตรตั้งแต่ปี 2018
การสร้างไวรัสใหม่ชนิดนี้จะสามารถครอบคลุมไวรัสที่จะแพร่และเกิดโรคระบาดในมนุษย์ได้ทั้งสิ้น และสามารถที่จะสร้างวัคซีนให้มนุษย์ก่อนได้
ประสบการณ์เฉียดตายของดารารุ่นใหญ่ ‘อัล ปาชิโน’
โควิด-19 เกือบคร่าชีวิตของเขา - อัล ปาชิโน นักแสดงชาวอเมริกัน ล้มป่วยหนักเมื่อปี 2020 หนักมากจนเขาแทบเอาชีวิตไม่รอด
อาจารย์หมอจุฬาฯ แนะวิธีดูแลอาการ 'รองช้ำ' เบื้องต้นด้วยตัวเอง
รศ.นพ.ธีระ วรธนารัตน์ คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย โพสต์เฟซบุ๊กเรื่อง 'รองช้ำ หรือ Plantar fasciitis"
โควิด-19 รายสัปดาห์ ป่วยนอนโรงพยาบาลทะลุหลักพัน เสียชีวิต 3 ราย
ศูนย์ข้อมูล COVID-19 รายงานเกาะติดยอดผู้ติดเชื้อโควิด-19 รายสัปดาห์ ระหว่างวันที่ 14 - 20 กรกฎาคม 2567
โควิดรายสัปดาห์ ป่วยนอนโรงพยาบาล ทะลุหลักพัน เสียชีวิต 5 ราย
ศูนย์ข้อมูล COVID-19 รายงานเกาะติดยอดผู้ติดเชื้อโควิด-19 รายสัปดาห์ ระหว่างวันที่ 7 - 13 กรกฎาคม 2567
‘หมอธีระ’ ข้องใจตัวเลขโควิด สัปดาห์ก่อนพุ่งอาทิตย์นี้ลดฮวบ ไม่ใช่เรื่องปกติ
สัปดาห์ก่อน ตัวเลขนอนรพ.พุ่งขึ้นกว่าสัปดาห์ก่อนหน้านั้นถึง 78% แต่สัปดาห์ล่าสุดนี้ ลดลงฮวบฮาบจากสัปดาห์ก่อนถึง 57.7% ส่วนตัวคิดว่าเป็นปรากฏการณ์ที่ควรต้อง explore