ถอดรหัสความหลากหลายของ “เพศวิถี”กับพัฒนาการเด็ก


เพิ่มเพื่อน    

 

หากคุณไม่รู้ว่าจะคุยเรื่องเพศกับลูกอย่างไร? หากคุณมองว่าเซ็กซ์เป็นเรื่องอันตราย หากคุณคิดว่าเพศศึกษาเป็นเครื่องมือป้องกันไม่ให้วัยรุ่นมีเซ็กซ์ อาจถึงเวลาที่คุณต้องเปลี่ยนความคิดเสียใหม่

สสส. ร่วมกับ สำนักพิมพ์ bookscape ชวนมาเปลี่ยนและเปิดมิติใหม่ของบทสนทนาเรื่องเพศที่จะช่วยให้วัยรุ่นมีเซ็กซ์และความสัมพันธ์ที่เสมอภาค ปลอดภัยและมีความสุขกว่าเดิม ในเวทีเสวนาสาธารณะ “เพศศึกษาสนทนา ความยินยอมเซ็กซ์และความสัมพันธ์ที่ดีสำหรับวัยรุ่น”

เปิดประเด็นในหัวข้อเรื่อง “ร่ายกายฉัน ฉันเลือกเอง:มิติใหม่เพศศึกษาสำหรับวัยรุ่น” ณัฐยา บุญภักดี ผอ.สำนักสนับสนุนสุขภาวะเด็ก เยาวชน และครอบครัว(สำนัก4)สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ(สสส.)ร่วมเสวนาโดยผู้เชี่ยวชาญด้านเพศและความสัมพันธ์ผู้ผ่านประสบการณ์ทำงานกับวัยรุ่นมากมายที่จะมาแลกเปลี่ยนแง่มุมเชิงสังคมและข้อเท็จจริงทางวิทยาศาสตร์รวมทั้งแนะแนวทางการสื่อสารเรื่องเพศกับวัยรุ่น รศ.ดร.ชลิดาภรณ์ ส่งสัมพันธ์ อาจารย์ประจำคณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์#ทวิตรัก

พญ.ธันยนันท์ กังวาฬพรโรจน์หรือหมอเฟิร์น กลุ่มบางรักโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข เบญจรัตน์ จงจำรัสพันธ์ นักจิตวิทยาพัฒนาการประจำโรงเรียน พีช-วิชญ์วิสิฐ หิรัญวงษ์กุล นักแสดง นักร้อง นักเขียน ชวนสนทนาโดย ตี้-ธิดารัตน์ เจริญชัยชนะ ผู้แปลหนังสือ “เพศศึกษา กติกาใหม่”(Consent:The New Rules of Sex Education)ของ Jennifer Lang

ผอ.สำนักสนับสนุนสุขภาวะเด็ก เยาวชน และครอบครัว สสส. เปิดประเด็นในหัวข้อเรื่อง “ร่างกายฉัน ฉันเลือกเอง”ด้วยสำนึกว่าร่างกายเป็นของเรามาก่อน ความสัมพันธ์ทางเพศต้องเป็นความยินยอม ไม่ละเมิดสิทธิกัน องค์ความรู้ตั้งแต่ปฐมวัย มนุษย์เจอกันได้คำตอบกระบวนการสร้างจิตสำนึก ร่างกายเป็นสิทธิของเราที่จะต้อบYes No จากจุดกำเนิดของชีวิต หนังสือเล่มเล็กๆนี้จึงเป็นไกด์บุ๊คให้กับลูกได้เรียนรู้เป็นอย่างดี

20คำถามของการศึกษาเพศสภาวะ เพศวิถีให้สอดคล้องกับพัฒนาการของเด็ก การสนทนาในกลุ่มใหญ่ถึงพลังหญิงไม่ใช่เรื่องเฟมินิสต์จ๋า หนังสือเล่มนี้เหมาะกับทุกเพศทุกวัย เรื่องความยินยอมเป็นการเปิดโลกใหม่เปิดชีวิตการมีเพศสัมพันธ์ในความเป็นมนุษย์ เพศศึกษาสนทนา เรื่องของทั้งสองฝ่ายยินยอมการมีเซ็กซ์และความสัมพันธ์ที่ดีสำหรับวัยรุ่น ดังนั้นการเสวนาครั้งนี้ขอให้มีการตอบแบบสอบถามด้วย ข้อมูลจะเป็นประโยชน์ในการพัฒนาปรับปรุง จะคัดเลือก100ท่านที่ตอบแบบสอบถามและส่งหนังสือกลับไปให้ที่บ้าน

ด้วยประสบการณ์ส่วนตัว ไม่ได้มีลูก แต่มีหลานๆ ที่เข้าสู่วัยรุ่น เรามั่นใจว่าเขาต้องสนใจเรื่องเพศมีวันหนึ่งหลานอยู่กันอย่างพร้อมหน้าพร้อมตากัน เราก็ขนอุปกรณ์หวังจะสอนเรื่องเพศศึกษา มีการจำลองอวัยวะเพศชาย มีถุงยางอนามัย เปิดกระเป๋าออกมาเพื่อจะสาธิตให้ดู ปรากฏว่าหลานๆวิ่งกันกระเจิดกระเจิงออกจากห้อง ถ้าเรื่องนี้ไม่เคยมีการพูดคุยกันมาก่อนเลย เขาเติบโตมาในครอบครัวบรรยากาศสังคมเพศเป็นสิ่งที่บางครอบครัวมองว่าเป็นเรื่องสกปรก เด็กโตมาแม้ว่าเขาอยากจะรู้ แต่เราเอาความรู้ไปให้เขาก็ไมได้เป็นเรื่องง่ายแต่อย่างใด ความเขินความอายจะปกปิดความอยากรู้อยากเห็น

หนังสือที่ขอแนะนำให้อ่าน Our body Our self เป็นหนังสือดังของโลก รวบรวมข้อมูลด้านวิทยาศาสตร์ที่น่าคิดว่าผู้หญิงเกิดมาพร้อมกับเยื่อพรหมจรรย์บางๆ บางคนเกิดมาโดยไม่มีเยื่อพรหมจรรย์ คนที่มีเยื่อพรหมจรรย์ก็ไม่ได้หมายความว่าจะหน้าตาเหมือนๆกัน ดังนั้นความเชื่อที่ว่าเด็กทุกคนต้องมีเยื่อพรหมจรรย์นั้นจึงไม่เป็นจริงสำหรับคนรุ่นใหม่

ณัฐยา บุญภักดี กล่าวว่า ถ้าเราเป็นฝ่ายที่ถูกกระทำ เราจะพิสูจน์ปัญหาเซ็กซ์ที่เราไม่ยินยอม มีคลิปภาพยนตร์Animationของสำนักงานตำรวจแห่งชาติอังกฤษ แยกแยะการดื่มชาที่เป็นการ์ตูนสอนเด็กง่ายๆ การยินยอมพร้อมใจในเรื่องเพศเสมือนหนึ่งคนมาดื่มชา ถ้าในขณะนี้เขาไม่อยากดื่มชาในขณะที่เขากำลังหลับก็ไม่ควรจะกรอกชาใส่ปากเขา แม้ว่าครั้งหนึ่งเขาก็เคยดื่มชากับเรามาแล้ว แต่ไม่ได้หมายความว่าวันนี้เขาจะอยากดื่มชากับเรา การ์ตูนที่นำเสนอง่ายๆนี้สอนเด็ก ผู้ใหญ่ควรให้ความสนใจในการสอนเด็กก่อนที่เขาจะโตเป็นวัยรุ่น และรู้เรื่องเพศ เราต้องฟังเสียงเขาและเคารพการตัดสินใจ การพัฒนาอำนาจในตน การสอนเปรียบเทียบแบบอุปมาอุปมัย การไม่ละเมิดสิทธิของผู้อื่น ต้องมีวิธีคิดด้วย รู้จักตัวเองและต้องไม่ไปละเมิดสิทธิของผู้อื่น

การทำทารุณกรรมทางเพศ การใช้ความรุนแรงทางเพศเกิดขึ้นหลายรูปแบบ เกิดแรงกดดัน สิ่งเหล่านี้เป็นความรุนแรงที่เกิดขี้นในสังคมไทย เสมือนหนึ่งเป็นภูเขาน้ำแข็งที่จมอยู่ใต้น้ำที่มองไม่เห็นถึง90% จะโผล่ขึ้นมาเมื่อมีสถิติอาชญากรรม5-10% ยังมีอยู่ข้างในอีกเยอะที่ไม่มีใครล่วงรู้ คนที่สำรวจก็ต้องมีทัศนคติที่ได้รับการยอมรับทั้งฝ่ายหญิงและฝ่ายชาย เป็นความยินยอมพร้อมใจกันของทั้งสองฝ่ายเป็นสุขภาวะทางเพศที่มีอยู่ในสังคมไทย แต่ก็ยังมีอีกมากมายเหมือนกันที่เป็นคดีความ

กระแสMee Too เป็นเรื่องแรงๆเมื่อ2-3ปีก่อน วัฒนธรรมสังคมไทยมีการใช้อำนาจกดขี่ เป็นคำถามว่าสังคมวัฒนธรรมไทยยอมรับในเรื่องการข่มขืนหรือไม่ คนถูกกระทำมาพูดเปิดเผยบอกเล่าต่อสาธาณชน กลายเป็นว่าคนออกมาพูดถูกตีตรา การที่คนหนึ่งกว่าจะพูดเรื่องส่วนลึกๆนั้นไม่ได้ง่าย คนพูดจะถูกตั้งคำถามมากมายเชื่อว่ามีเยอะมากแม้ไม่ได้มีการสำรวจกันอย่างเป็นทางการ

สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ(สสส.):ภาพ

ถอดรหัสความหลากหลายของ “เพศวิถี” กับพัฒนาการเด็ก

 

หากคุณไม่รู้ว่าจะคุยเรื่องเพศกับลูกอย่างไร? หากคุณมองว่าเซ็กซ์เป็นเรื่องอันตราย หากคุณคิดว่าเพศศึกษาเป็นเครื่องมือป้องกันไม่ให้วัยรุ่นมีเซ็กซ์ อาจถึงเวลาที่คุณต้องเปลี่ยนความคิดเสียใหม่

สสส. ร่วมกับ สำนักพิมพ์ bookscape ชวนมาเปลี่ยนและเปิดมิติใหม่ของบทสนทนาเรื่องเพศที่จะช่วยให้วัยรุ่นมีเซ็กซ์และความสัมพันธ์ที่เสมอภาค ปลอดภัยและมีความสุขกว่าเดิม ในเวทีเสวนาสาธารณะ “เพศศึกษาสนทนา ความยินยอมเซ็กซ์และความสัมพันธ์ที่ดีสำหรับวัยรุ่น”

 

วงชวนคุย ชวนคิด ชวนอ่านหนังสือ“เพศศึกษากติกาใหม่” ไกด์บุ๊คว่าด้วยความยินยอม เซ็กซ์และความสัมพันธ์ที่ดีสำหรับวัยรุ่น(Consent:The New Rules of Sex Education)พบกับแนวทางการพูดคุยหลากหลายประเด็นเรื่องเพศกับวัยรุ่นอย่างเข้าอกเข้าใจ เปิดใจและอบอุ่นใจ จะเริ่มมีเซ็กซ์เมื่อไหร่ดี วิธีคุมกำเนิดแบบไหนปลอดภัยที่สุด ทำอย่างไรดีถ้าถูกเพื่อนล่วงละเมิดทางเพศ หากอีกฝ่ายไม่พูดว่า“ไม่”แปลว่า “ได้”หรือเปล่า

เปิดประเด็นในหัวข้อเรื่อง “ร่ายกายฉัน ฉันเลือกเอง:มิติใหม่เพศศึกษาสำหรับวัยรุ่น” ณัฐยา บุญภักดี ผอ.สำนักสนับสนุนสุขภาวะเด็ก เยาวชน และครอบครัว(สำนัก4)สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ(สสส.)ร่วมเสวนาโดยผู้เชี่ยวชาญด้านเพศและความสัมพันธ์ผู้ผ่านประสบการณ์ทำงานกับวัยรุ่นมากมายที่จะมาแลกเปลี่ยนแง่มุมเชิงสังคมและข้อเท็จจริงทางวิทยาศาสตร์รวมทั้งแนะแนวทางการสื่อสารเรื่องเพศกับวัยรุ่น รศ.ดร.ชลิดาภรณ์ ส่งสัมพันธ์ อาจารย์ประจำคณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์#ทวิตรัก

พญ.ธันยนันท์ กังวาฬพรโรจน์หรือหมอเฟิร์น กลุ่มบางรักโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข เบญจรัตน์ จงจำรัสพันธ์ นักจิตวิทยาพัฒนาการประจำโรงเรียน พีช-วิชญ์วิสิฐ หิรัญวงษ์กุล นักแสดง นักร้อง นักเขียน ชวนสนทนาโดย ตี้-ธิดารัตน์ เจริญชัยชนะ ผู้แปลหนังสือ “เพศศึกษา กติกาใหม่”(Consent:The New Rules of Sex Education)ของ Jennifer Lang

หากคุณไม่รู้ว่าจะคุยเรื่องเพศกับลูกอย่างไร? หากคุณมองว่าเซ็กซ์เป็นเรื่องอันตราย หากคุณคิดว่าเพศศึกษาเป็นเครื่องมือป้องกันไม่ให้วัยรุ่นมีเซ็กซ์ อาจถึงเวลาที่คุณต้องเปลี่ยนความคิดเสียใหม่

สสส. ร่วมกับ สำนักพิมพ์ bookscape ชวนมาเปลี่ยนและเปิดมิติใหม่ของบทสนทนาเรื่องเพศที่จะช่วยให้วัยรุ่นมีเซ็กซ์และความสัมพันธ์ที่เสมอภาค ปลอดภัยและมีความสุขกว่าเดิม ในเวทีเสวนาสาธารณะ “เพศศึกษาสนทนา ความยินยอมเซ็กซ์และความสัมพันธ์ที่ดีสำหรับวัยรุ่น”

วงชวนคุย ชวนคิด ชวนอ่านหนังสือ“เพศศึกษากติกาใหม่” ไกด์บุ๊คว่าด้วยความยินยอม เซ็กซ์และความสัมพันธ์ที่ดีสำหรับวัยรุ่น(Consent:The New Rules of Sex Education)พบกับแนวทางการพูดคุยหลากหลายประเด็นเรื่องเพศกับวัยรุ่นอย่างเข้าอกเข้าใจ เปิดใจและอบอุ่นใจ จะเริ่มมีเซ็กซ์เมื่อไหร่ดี วิธีคุมกำเนิดแบบไหนปลอดภัยที่สุด ทำอย่างไรดีถ้าถูกเพื่อนล่วงละเมิดทางเพศ หากอีกฝ่ายไม่พูดว่า“ไม่”แปลว่า “ได้”หรือเปล่า

ผอ.สำนักสนับสนุนสุขภาวะเด็ก เยาวชน และครอบครัว สสส. เปิดประเด็นในหัวข้อเรื่อง “ร่างกายฉัน ฉันเลือกเอง”ด้วยสำนึกว่าร่างกายเป็นของเรามาก่อน ความสัมพันธ์ทางเพศต้องเป็นความยินยอม ไม่ละเมิดสิทธิกัน องค์ความรู้ตั้งแต่ปฐมวัย มนุษย์เจอกันได้คำตอบกระบวนการสร้างจิตสำนึก ร่างกายเป็นสิทธิของเราที่จะต้อบYes No จากจุดกำเนิดของชีวิต หนังสือเล่มเล็กๆนี้จึงเป็นไกด์บุ๊คให้กับลูกได้เรียนรู้เป็นอย่างดี

20คำถามของการศึกษาเพศสภาวะ เพศวิถีให้สอดคล้องกับพัฒนาการของเด็ก การสนทนาในกลุ่มใหญ่ถึงพลังหญิงไม่ใช่เรื่องเฟมินิสต์จ๋า หนังสือเล่มนี้เหมาะกับทุกเพศทุกวัย เรื่องความยินยอมเป็นการเปิดโลกใหม่เปิดชีวิตการมีเพศสัมพันธ์ในความเป็นมนุษย์ เพศศึกษาสนทนา เรื่องของทั้งสองฝ่ายยินยอมการมีเซ็กซ์และความสัมพันธ์ที่ดีสำหรับวัยรุ่น ดังนั้นการเสวนาครั้งนี้ขอให้มีการตอบแบบสอบถามด้วย ข้อมูลจะเป็นประโยชน์ในการพัฒนาปรับปรุง จะคัดเลือก100ท่านที่ตอบแบบสอบถามและส่งหนังสือกลับไปให้ที่บ้าน

ด้วยประสบการณ์ส่วนตัว ไม่ได้มีลูก แต่มีหลานๆ ที่เข้าสู่วัยรุ่น เรามั่นใจว่าเขาต้องสนใจเรื่องเพศมีวันหนึ่งหลานอยู่กันอย่างพร้อมหน้าพร้อมตากัน เราก็ขนอุปกรณ์หวังจะสอนเรื่องเพศศึกษา มีการจำลองอวัยวะเพศชาย มีถุงยางอนามัย เปิดกระเป๋าออกมาเพื่อจะสาธิตให้ดู ปรากฏว่าหลานๆวิ่งกันกระเจิดกระเจิงออกจากห้อง ถ้าเรื่องนี้ไม่เคยมีการพูดคุยกันมาก่อนเลย เขาเติบโตมาในครอบครัวบรรยากาศสังคมเพศเป็นสิ่งที่บางครอบครัวมองว่าเป็นเรื่องสกปรก เด็กโตมาแม้ว่าเขาอยากจะรู้ แต่เราเอาความรู้ไปให้เขาก็ไมได้เป็นเรื่องง่ายแต่อย่างใด ความเขินความอายจะปกปิดความอยากรู้อยากเห็น

หนังสือที่ขอแนะนำให้อ่าน Our body Our self เป็นหนังสือดังของโลก รวบรวมข้อมูลด้านวิทยาศาสตร์ที่น่าคิดว่าผู้หญิงเกิดมาพร้อมกับเยื่อพรหมจรรย์บางๆ บางคนเกิดมาโดยไม่มีเยื่อพรหมจรรย์ คนที่มีเยื่อพรหมจรรย์ก็ไม่ได้หมายความว่าจะหน้าตาเหมือนๆกัน ดังนั้นความเชื่อที่ว่าเด็กทุกคนต้องมีเยื่อพรหมจรรย์นั้นจึงไม่เป็นจริงสำหรับคนรุ่นใหม่

ณัฐยา บุญภักดี กล่าวว่า ถ้าเราเป็นฝ่ายที่ถูกกระทำ เราจะพิสูจน์ปัญหาเซ็กซ์ที่เราไม่ยินยอม มีคลิปภาพยนตร์Animationของสำนักงานตำรวจแห่งชาติอังกฤษ แยกแยะการดื่มชาที่เป็นการ์ตูนสอนเด็กง่ายๆ การยินยอมพร้อมใจในเรื่องเพศเสมือนหนึ่งคนมาดื่มชา ถ้าในขณะนี้เขาไม่อยากดื่มชาในขณะที่เขากำลังหลับก็ไม่ควรจะกรอกชาใส่ปากเขา แม้ว่าครั้งหนึ่งเขาก็เคยดื่มชากับเรามาแล้ว แต่ไม่ได้หมายความว่าวันนี้เขาจะอยากดื่มชากับเรา การ์ตูนที่นำเสนอง่ายๆนี้สอนเด็ก ผู้ใหญ่ควรให้ความสนใจในการสอนเด็กก่อนที่เขาจะโตเป็นวัยรุ่น และรู้เรื่องเพศ เราต้องฟังเสียงเขาและเคารพการตัดสินใจ การพัฒนาอำนาจในตน การสอนเปรียบเทียบแบบอุปมาอุปมัย การไม่ละเมิดสิทธิของผู้อื่น ต้องมีวิธีคิดด้วย รู้จักตัวเองและต้องไม่ไปละเมิดสิทธิของผู้อื่น

การทำทารุณกรรมทางเพศ การใช้ความรุนแรงทางเพศเกิดขึ้นหลายรูปแบบ เกิดแรงกดดัน สิ่งเหล่านี้เป็นความรุนแรงที่เกิดขี้นในสังคมไทย เสมือนหนึ่งเป็นภูเขาน้ำแข็งที่จมอยู่ใต้น้ำที่มองไม่เห็นถึง90% จะโผล่ขึ้นมาเมื่อมีสถิติอาชญากรรม5-10% ยังมีอยู่ข้างในอีกเยอะที่ไม่มีใครล่วงรู้ คนที่สำรวจก็ต้องมีทัศนคติที่ได้รับการยอมรับทั้งฝ่ายหญิงและฝ่ายชาย เป็นความยินยอมพร้อมใจกันของทั้งสองฝ่ายเป็นสุขภาวะทางเพศที่มีอยู่ในสังคมไทย แต่ก็ยังมีอีกมากมายเหมือนกันที่เป็นคดีความ

กระแสMee Too เป็นเรื่องแรงๆเมื่อ2-3ปีก่อน วัฒนธรรมสังคมไทยมีการใช้อำนาจกดขี่ เป็นคำถามว่าสังคมวัฒนธรรมไทยยอมรับในเรื่องการข่มขืนหรือไม่ คนถูกกระทำมาพูดเปิดเผยบอกเล่าต่อสาธาณชน กลายเป็นว่าคนออกมาพูดถูกตีตรา การที่คนหนึ่งกว่าจะพูดเรื่องส่วนลึกๆนั้นไม่ได้ง่าย คนพูดจะถูกตั้งคำถามมากมายเชื่อว่ามีเยอะมากแม้ไม่ได้มีการสำรวจกันอย่างเป็นทางการ

สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ(สสส.):ภาพ

ถอดรหัสความหลากหลายของ “เพศวิถี” กับพัฒนาการเด็ก

หากคุณไม่รู้ว่าจะคุยเรื่องเพศกับลูกอย่างไร? หากคุณมองว่าเซ็กซ์เป็นเรื่องอันตราย หากคุณคิดว่าเพศศึกษาเป็นเครื่องมือป้องกันไม่ให้วัยรุ่นมีเซ็กซ์ อาจถึงเวลาที่คุณต้องเปลี่ยนความคิดเสียใหม่

สสส. ร่วมกับ สำนักพิมพ์ bookscape ชวนมาเปลี่ยนและเปิดมิติใหม่ของบทสนทนาเรื่องเพศที่จะช่วยให้วัยรุ่นมีเซ็กซ์และความสัมพันธ์ที่เสมอภาค ปลอดภัยและมีความสุขกว่าเดิม ในเวทีเสวนาสาธารณะ “เพศศึกษาสนทนา ความยินยอมเซ็กซ์และความสัมพันธ์ที่ดีสำหรับวัยรุ่น”

เปิดประเด็นในหัวข้อเรื่อง “ร่ายกายฉัน ฉันเลือกเอง:มิติใหม่เพศศึกษาสำหรับวัยรุ่น” ณัฐยา บุญภักดี ผอ.สำนักสนับสนุนสุขภาวะเด็ก เยาวชน และครอบครัว(สำนัก4)สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ(สสส.)ร่วมเสวนาโดยผู้เชี่ยวชาญด้านเพศและความสัมพันธ์ผู้ผ่านประสบการณ์ทำงานกับวัยรุ่นมากมายที่จะมาแลกเปลี่ยนแง่มุมเชิงสังคมและข้อเท็จจริงทางวิทยาศาสตร์รวมทั้งแนะแนวทางการสื่อสารเรื่องเพศกับวัยรุ่น รศ.ดร.ชลิดาภรณ์ ส่งสัมพันธ์ อาจารย์ประจำคณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์#ทวิตรัก

พญ.ธันยนันท์ กังวาฬพรโรจน์หรือหมอเฟิร์น กลุ่มบางรักโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข เบญจรัตน์ จงจำรัสพันธ์ นักจิตวิทยาพัฒนาการประจำโรงเรียน พีช-วิชญ์วิสิฐ หิรัญวงษ์กุล นักแสดง นักร้อง นักเขียน ชวนสนทนาโดย ตี้-ธิดารัตน์ เจริญชัยชนะ ผู้แปลหนังสือ “เพศศึกษา กติกาใหม่”(Consent:The New Rules of Sex Education)ของ Jennifer Lang  หากคุณไม่รู้ว่าจะคุยเรื่องเพศกับลูกอย่างไร? หากคุณมองว่าเซ็กซ์เป็นเรื่องอันตราย หากคุณคิดว่าเพศศึกษาเป็นเครื่องมือป้องกันไม่ให้วัยรุ่นมีเซ็กซ์ อาจถึงเวลาที่คุณต้องเปลี่ยนความคิดเสียใหม่

สสส.ร่วมกับสำนักพิมพ์ bookscape ชวนมาเปลี่ยนและเปิดมิติใหม่ของบทสนทนาเรื่องเพศที่จะช่วยให้วัยรุ่นมีเซ็กซ์และความสัมพันธ์ที่เสมอภาค ปลอดภัย และมีความสุขกว่าเดิมในเวทีเสวนาสาธารณะ “เพศศึกษาสนทนา ความยินยอมเซ็กซ์และความสัมพันธ์ที่ดีสำหรับวัยรุ่น”

                วงชวนคุย ชวนคิด ชวนอ่านหนังสือ “เพศศึกษากติกาใหม่”  ไกด์บุ๊กว่าด้วยความยินยอม เซ็กซ์ และความสัมพันธ์ที่ดีสำหรับวัยรุ่น (Consent : The New Rules of Sex Education) พบกับแนวทางการพูดคุยหลากหลายประเด็นเรื่องเพศกับวัยรุ่นอย่างเข้าอกเข้าใจ เปิดใจ และอบอุ่นใจ จะเริ่มมีเซ็กซ์เมื่อไหร่ดี วิธีคุมกำเนิดแบบไหนปลอดภัยที่สุด ทำอย่างไรดีถ้าถูกเพื่อนล่วงละเมิดทางเพศ หากอีกฝ่ายไม่พูดว่า “ไม่” แปลว่า “ได้” หรือเปล่า

                เปิดประเด็นในหัวข้อเรื่อง “ร่ายกายฉัน ฉันเลือกเอง : มิติใหม่เพศศึกษาสำหรับวัยรุ่น” ณัฐยา บุญภักดี ผอ.สำนักสนับสนุนสุขภาวะเด็ก เยาวชน และครอบครัว (สำนัก 4) สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) ร่วมเสวนาโดยผู้เชี่ยวชาญด้านเพศและความสัมพันธ์ผู้ผ่านประสบการณ์ทำงานกับวัยรุ่นมากมายที่จะมาแลกเปลี่ยนแง่มุมเชิงสังคมและข้อเท็จจริงทางวิทยาศาสตร์ รวมทั้งแนะแนวทางการสื่อสารเรื่องเพศกับวัยรุ่น รศ.ดร.ชลิดาภรณ์ ส่งสัมพันธ์ อาจารย์ประจำคณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ #ทวิตรัก

                พญ.ธันยนันท์ กังวาฬพรโรจน์ หรือหมอเฟิร์น กลุ่มบางรักโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์  กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข เบญจรัตน์ จงจำรัสพันธ์ นักจิตวิทยาพัฒนาการประจำโรงเรียน พีช-วิชญ์วิสิฐ หิรัญวงษ์กุล นักแสดง นักร้อง นักเขียน ชวนสนทนาโดย ตี้-ธิดารัตน์ เจริญชัยชนะ ผู้แปลหนังสือ “เพศศึกษา กติกาใหม่” (Consent : The New Rules of Sex Education) ของ Jennifer Lang

                ณัฐยา บุญภักดี ผอ.สำนักสนับสนุนสุขภาวะเด็ก เยาวชน และครอบครัว (สำนัก 4) สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) เปิดประเด็นในหัวข้อเรื่อง “ร่างกายฉัน ฉันเลือกเอง” ด้วยสำนึกว่าร่างกายเป็นของเรามาก่อน ความสัมพันธ์ทางเพศต้องเป็นความยินยอม ไม่ละเมิดสิทธิกัน องค์ความรู้ตั้งแต่ปฐมวัย มนุษย์เจอกันได้คำตอบกระบวนการสร้างจิตสำนึก ร่างกายเป็นสิทธิของเราที่จะตอบ Yes No จากจุดกำเนิดของชีวิต หนังสือเล่มเล็กๆ นี้จึงเป็นไกด์บุ๊กให้กับลูกได้เรียนรู้เป็นอย่างดี

                ด้วยประสบการณ์ส่วนตัว ไม่ได้มีลูก แต่มีหลานๆ ที่เข้าสู่วัยรุ่น เรามั่นใจว่าเขาต้องสนใจเรื่องเพศ มีวันหนึ่งหลานอยู่กันอย่างพร้อมหน้าพร้อมตากัน เราก็ขนอุปกรณ์หวังจะสอนเรื่องเพศศึกษา มีการจำลองอวัยวะเพศชาย มีถุงยางอนามัย เปิดกระเป๋าออกมาเพื่อจะสาธิตให้ดู ปรากฏว่าหลานๆ วิ่งกันกระเจิดกระเจิงออกจากห้อง ถ้าเรื่องนี้ไม่เคยมีการพูดคุยกันมาก่อนเลย เขาเติบโตมาในครอบครัวบรรยากาศสังคมเพศเป็นสิ่งที่บางครอบครัวมองว่าเป็นเรื่องสกปรก  เด็กโตมาแม้ว่าเขาอยากจะรู้ แต่เราเอาความรู้ไปให้เขาก็ไม่ได้เป็นเรื่องง่ายแต่อย่างใด ความเขินความอายจะปกปิดความอยากรู้อยากเห็น

                หนังสือที่ขอแนะนำให้อ่าน Our body Our self เป็นหนังสือดังของโลก รวบรวมข้อมูลด้านวิทยาศาสตร์ที่น่าคิดว่าผู้หญิงเกิดมาพร้อมกับเยื่อพรหมจรรย์บางๆ บางคนเกิดมาโดยไม่มีเยื่อพรหมจรรย์ คนที่มีเยื่อพรหมจรรย์ก็ไม่ได้หมายความว่าจะหน้าตาเหมือนๆ กัน ดังนั้นความเชื่อที่ว่าเด็กทุกคนต้องมีเยื่อพรหมจรรย์นั้นจึงไม่เป็นจริงสำหรับคนรุ่นใหม่

                ณัฐยา บุญภักดี กล่าวว่า ถ้าเราเป็นฝ่ายที่ถูกกระทำ เราจะพิสูจน์ปัญหาเซ็กซ์ที่เราไม่ยินยอม มีคลิปภาพยนตร์ Animation ของสำนักงานตำรวจแห่งชาติอังกฤษ แยกแยะการดื่มชาที่เป็นการ์ตูนสอนเด็กง่ายๆ การยินยอมพร้อมใจในเรื่องเพศเสมือนหนึ่งคนมาดื่มชา ถ้าในขณะนี้เขาไม่อยากดื่มชาในขณะที่เขากำลังหลับก็ไม่ควรจะกรอกชาใส่ปากเขา แม้ว่าครั้งหนึ่งเขาก็เคยดื่มชากับเรามาแล้ว แต่ไม่ได้หมายความว่าวันนี้เขาจะอยากดื่มชากับเรา การ์ตูนที่นำเสนอง่ายๆ นี้สอนเด็ก ผู้ใหญ่ควรให้ความสนใจในการสอนเด็กก่อนที่เขาจะโตเป็นวัยรุ่น และรู้เรื่องเพศ เราต้องฟังเสียงเขาและเคารพการตัดสินใจ การพัฒนาอำนาจในตน การสอนเปรียบเทียบแบบอุปมาอุปไมย การไม่ละเมิดสิทธิของผู้อื่น ต้องมีวิธีคิดด้วย รู้จักตัวเอง และต้องไม่ไปละเมิดสิทธิของผู้อื่น

                การทำทารุณกรรมทางเพศ การใช้ความรุนแรงทางเพศเกิดขึ้นหลายรูปแบบ เกิดแรงกดดัน สิ่งเหล่านี้เป็นความรุนแรงที่เกิดขึ้นในสังคมไทย เสมือนหนึ่งเป็นภูเขาน้ำแข็งที่จมอยู่ใต้น้ำที่มองไม่เห็นถึง 90% จะโผล่ขึ้นมาเมื่อมีสถิติอาชญากรรม 5-10% ยังมีอยู่ข้างในอีกเยอะที่ไม่มีใครล่วงรู้ คนที่สำรวจก็ต้องมีทัศนคติที่ได้รับการยอมรับทั้งฝ่ายหญิงและฝ่ายชาย เป็นความยินยอมพร้อมใจกันของทั้งสองฝ่ายเป็นสุขภาวะทางเพศที่มีอยู่ในสังคมไทย แต่ก็ยังมีอีกมากมายเหมือนกันที่เป็นคดีความ

                กระแส Mee Too เป็นเรื่องแรงๆ เมื่อ 2-3 ปีก่อน วัฒนธรรมสังคมไทยมีการใช้อำนาจกดขี่ เป็นคำถามว่าสังคมวัฒนธรรมไทยยอมรับในเรื่องการข่มขืนหรือไม่ คนถูกกระทำมาพูดเปิดเผยบอกเล่าต่อสาธารณชน กลายเป็นว่าคนออกมาพูดถูกตีตรา การที่คนหนึ่งกว่าจะพูดเรื่องส่วนลึกๆ นั้นไม่ได้ง่าย คนพูดจะถูกตั้งคำถามมากมาย เชื่อว่ามีเยอะมาก แม้ไม่ได้มีการสำรวจกันอย่างเป็นทางการ

 

 

หนังสือเพศศึกษากติกาใหม่

Consent : The New Rules of Sex Education

หนังสือเล่มนี้จะเปิดมิติใหม่ของเพศศึกษาที่เป็นมิตร ใช้ได้จริง และมีหลักฐานทางวิทยาศาสตร์รองรับ เป็นหนังสือไกด์บุ๊กว่าด้วยความยินยอม เซ็กซ์ และความสัมพันธ์ที่ดีสำหรับวัยรุ่น ลืมเพศศึกษาแบบเก่า ได้เวลากับการวางกติกาแบบใหม่ เป็นคู่มือที่จะช่วยให้วัยรุ่นทุกคนมีความสัมพันธ์ทางเพศที่ปลอดภัยและมีความสัมพันธ์ทางใจที่แข็งแรง

                -เซ็กซ์ที่ดีเป็นอย่างไร? เราควรเริ่มมีเซ็กซ์เมื่อไหร่ และควรทำอย่างไร เมื่อการเดทดูท่าจะลงเอยด้วยเซ็กซ์

                -สวมถุงยางอนามัย 2 ชิ้นปลอดภัยกว่าจริงไหม?

                -ออรัลเซ็กซ์ทำให้ตั้งครรภ์ได้หรือเปล่า...?

                -ความยินยอมคืออะไร จะสื่อสารความสัมพันธ์ทางใจกับคนรักอย่างไร  เมื่อเราไม่ต้องการมีเซ็กซ์และพฤติกรรมแบบไหนที่เข้าข่ายการล่วงละเมิดทางเพศ

                ในโลกยุคใหม่ที่วัยรุ่นมีมุมมองและประสบการณ์ทางเพศต่างจากในอดีต เพศศึกษาแบบเดิมๆ ที่สอนให้หลีกเลี่ยงเซ็กซ์และปฏิเสธความสัมพันธ์ที่ไม่สามารถตอบโจทย์วัยรุ่นได้อีกต่อไป “เพศศึกษากติกาใหม่” ไกด์บุ๊กว่าด้วยความยินยอมเซ็กซ์และความสัมพันธ์ที่ดีสำหรับวัยรุ่น” ด้วยการจูงมือวัยรุ่นทุกคนเดินทางเข้าสู่โลกของเซ็กซ์และความสัมพันธ์ที่ปลอดภัยและสร้างสุข พร้อมกับการติดอาวุธให้วัยรุ่นด้วยความรู้เรื่อง "ความยินยอม” ทั้งยังแนะแนวให้ผู้ใหญ่สื่อสารเรื่องเพศกับวัยรุ่นได้อย่างเปิดเผยและเข้าอกเข้าใจยิ่งขึ้น

 

 

พีช-วิชญ์วิสิฐ หิรัญวงษ์กุล

:ครูสอนเรื่องเพศแบบกระมิดกระเมี้ยน

                พีช-วิชญ์วิสิฐ หิรัญวงษ์กุล นักแสดง นักร้อง นักเขียน เล่าถึงร่างกายเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วในช่วง ด.ช.เป็นนาย ด้วยความที่เรียนอยู่ รร.ชายล้วน ได้เรียนวิชาสุขศึกษา รู้จักสรีระของชายและหญิงในความเป็นซีกหญิงและซีกชาย มีชีวิตชีวา เน้นการเปลี่ยนแปลงของผู้ชายเป็นหลัก ครูไม่สามารถสร้างสรรค์มากพอทำให้การเรียนการสอนของครูสอนทำแบบกระมิดกระเมี้ยน พูดได้ไม่เต็มปาก ถ้าหากเราอยากจะรู้เรื่องเพศแบบลึกๆ ก็ต้องมาคุยกันเองในหมู่เพื่อน เมื่อร่างกายเปลี่ยนแปลงในช่วงเรียนมัธยมปลาย ครูจะสอนถึงโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์เป็นเสมือนหนึ่งคัมภีร์ไบเบิลว่า อย่าทำมากกว่า จะบอกว่าถ้าเป็นโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์แล้ว หนองใน ซิฟิลิส เห็นภาพแล้วน่ากลัว เราจะจัดการอย่างไรกับตัวเรา เราต้องไม่อยู่ในจุดนั้นเมื่อเราเติบโตขึ้นมา เป็นการสอนให้กลัวมากกว่าที่จะสอนให้หาทางออก

                เราเคยได้ยินว่าเมื่อมีเพศสัมพันธ์ มะนาวฆ่าอสุจิได้ พีชมีแม่เป็น single mom สังเกตเห็นลูกชายย่างเข้าสู่วัยเจริญพันธุ์ แม่ก็มีบทสนทนาด้วยคำทักทายว่าเราเริ่มมีหนวด เสียงเริ่มเปลี่ยนแล้วนะ แต่แม่ก็ไม่ได้ลงลึกไปถึงเรื่องการช่วยตัวเองเป็นสิ่งที่ต้องห้ามในการพูดถึง บางครั้งเราอยู่คนเดียวจะช่วยตัวเองได้อย่างไร เพราะแม่จะเปิดประตูเข้ามาในห้องก็เกิดความเป็นห่วง เพราะแม่ก็เป็นผู้หญิง ในขณะที่เราเป็นผู้ชายไม่ได้มี Role Model อยู่ในบ้าน ไม่มีใครบอกเล่าเรื่องเพศก็ต้องเลือกพูดคุยเรื่องเพศกับเพื่อน เข้าใจถูกบ้างเข้าใจผิดบ้างเกิดความไม่แน่ใจ โดยเฉพาะตอนที่เรียนอยู่ชั้นมัธยม กว่าจะเข้าใจสรีระของผู้หญิงว่ามีท่อปัสสาวะ แยกกับช่องคลอด ก็ต้องมีการสนทนากัน มีการซักถามกันถึงเรื่องการช่วยตัวเองเมื่อมีความต้องการทางเพศ เพราะข้อสงสัยเหล่านี้กระทบต่อตัวเรา

                ตอนเป็นเด็กมีความเขินอายที่จะไปซื้อถุงยางอนามัย อุปกรณ์ทางเพศทั้งที่จริงๆ แล้วเป็นเรื่องปกติ แต่เพราะไม่มีการชี้ให้ความรู้ เราต้องศึกษาเองด้วยการดูเว็บโป๊ หนังโป๊ เข้าใจว่าการร่วมเพศที่เป็นอุดมคติจะต้องมีความสุขทางเพศเกิดขึ้นกับชีวิตจริง แต่เรื่องเพศนี้ขึ้นอยู่กับปัจเจกบุคคลมากกว่า

                คำถามที่จะถามกันว่า แม่ควรจะเป็นผู้สอนเรื่องเพศกับลูกชายหรือไม่นั้น คำตอบก็คือว่า พีทไม่รู้ว่าแม่รู้มากขนาดไหนที่จะสอนได้ แต่ถ้าจะสอนก็ยังดีกว่าให้เราไปทดลองค้นหาคำตอบด้วยตัวเองและไม่สามารถจะ Recheck กับคนอื่นได้  มีพื้นที่เทาๆ มืดๆ  ที่ผู้ใหญ่เองก็ไม่สามารถที่จะให้คำตอบได้ จนกว่าเราจะเข้าใจตัวเอง

                ด้วยอำนาจแห่งตน เราจะทำอะไรกับร่างกายตัวเอง ถ้าเราเป็นเด็กไม่สบายพ่อแม่จับเราไปหาหมอ แต่เมื่อโตขึ้นเป็นวัยรุ่นพ่อแม่บังคับไม่ได้ ทั้งหมดเมื่อลูกปฏิเสธด้วยคำว่า No เรามีวิธีให้วัยรุ่นตระหนักถึงอำนาจแห่งตนให้มีภูมิต้านทานในเรื่องเพศ เรื่องนี้ขึ้นอยู่กับการสื่อสารให้น่ารักหรือบางประเภทขอใช้คำว่าหื่น อยู่ที่คาแรกเตอร์ของแต่ละคนทุกคนล้วนมีความต้องการจะพูดดีหรือไม่ดีนั้น ตรงไปตรงมาในทำนองว่าขอมีอะไรด้วยในขณะที่อีกฝ่ายปฏิเสธ ทำให้รู้สึกไม่สบายใจ

                ในงานปาร์ตี้มีเพื่อนรวมกันเยอะๆ ในกลุ่มนั้นมีคู่รักที่เป็นแฟนกันมี  Moment จากเพื่อนๆ ยุให้กอดและจูบกันต่อหน้าผู้คนจำนวนมาก ในสถานการณ์เช่นนี้จะเลือกอย่างไร

 

    

   รศ.ดร.ชลิดาภรณ์ ส่งสัมพันธ์  :ไม่ใช่พ่อแม่ทุกคนสอนเรื่องเพศให้ลูกตัวเองได้

                รศ.ดร.ชลิดาภรณ์ ส่งสัมพันธ์ : สมัยที่เรียนหนังสือไม่มีวิชาว่าด้วยเพศศึกษาในห้องเรียน แต่จะเป็นวิชาสอนสุขศึกษา ทำอย่างไรให้ร่างกายสะอาดทางด้านสรีระมากกว่า เป็นความเศร้ามากที่ลูกศิษย์เรียนเพศศึกษาส่วนใหญ่ก็เรียนกันในชั้นเรียน เรียนให้ไม่รู้ ในขณะที่เรียนสุขศึกษาแล้วจะรู้จักสรีระร่างกายมากกว่า เรื่องการสอนเพศศึกษาในสังคมไทย ถ้าจะให้พูดกันอย่างเป็นระบบเป็นปัญหาใหญ่ก็คงไม่เปลี่ยนเหมือนกับสมัยที่เป็นนักเรียน

                “ขอบอกว่าไม่ใช่พ่อแม่ทุกคนจะสอนเรื่องเพศให้กับลูกตัวเองได้ ขึ้นอยู่ที่ว่าพ่อแม่มองเรื่องเพศในทางลบหรือไม่ ควรยุ่งเกี่ยวแค่ไหน อย่าหมกมุ่นทางเพศมากเกินไป ทำให้วุ่นวายกันไปใหญ่ การที่พีทพูดประเด็นนี้ก็ไม่อยากจะไปดับฝันเรื่องพ่อแม่พูดเรื่องเพศกับลูกอาจจะแย่ยิ่งกว่าเดิม พ่อแม่ก็ไม่ได้รู้ลึกซึ้งจะทำให้ไม่รู้แล้วไปกันใหญ่ เรื่องเพศไม่ใช่คนที่อยู่ในวัยเกษียณอายุแล้วจะรู้เรื่องเพศได้ดี สังคมไทยนั้นที่ต้องมีการปฏิรูปก็เพราะทุกคนไม่รู้เหมือนๆกันทั้งหมด”

                โดยทั่วไปแล้วลูกยกย่องพ่อแม่ในฐานะอื่นๆ ไม่ได้มองเพื่อสื่อสารเรื่องเพศ สิ่งเหล่านี้ต้องมีการตระเตรียมว่าพ่อแม่จะบอกเรื่องเพศกับลูกอย่างไรที่เป็นการเหมาะสม คำถามที่ถามกันว่าผู้ชายจะล่วงรู้หรือไม่ว่าผู้หญิงบริสุทธิ์ยังมีพรหมจารี การที่มโนเข้าใจถูกต้องหรือไม่ว่ามีเลือดออกหลังจากการร่วมเพศในครั้งแรก ไม่ใช่เสมอไป เพราะส่วนใหญ่พรหมจารีของผู้หญิงฉีกขาดไปก่อนแล้วเพราะการเล่นกีฬา การทำกิจกรรมต่างๆ

การควบคุมเรื่องเพศเมื่อถึงวัยเจริญพันธุ์ของผู้หญิง เพื่อให้เกิดความมั่นใจว่าเด็กที่เกิดมามีความมั่นใจว่าเด็กที่เกิดมานั้นเป็นลูกของตัวเองอย่างแน่นอน เกิดความภาคภูมิใจ ถ้าเราตัดสินคนด้วยเรื่องเยื่อพรหมจารี โดยเฉพาะผู้ชายก็ต้องมองผู้หญิงให้เต็มตาว่ารักเขาที่ตรงไหน รักเพราะเยื่อบางๆ แน่ใจหรือว่าคุณค่าของความเป็นมนุษย์คู่ควรกับเยื่อพรหมจารี มีเลือดออกเมื่อร่วมเพศครั้งแรก ก็ขอฝากคำถามนี้เป็นข้อคิดสำหรับผู้ชายด้วย

                คนที่ไม่ได้ถูกฝึกให้เผชิญกับสถานการณ์เช่นนี้ เป็นการทำตามสัญชาตญาณจะหลบหรือยินยอมพร้อมใจทำตาม สิ่งเหล่านี้ก็ต้องมีการฝึกวิธีคิด การคิดถึงคนอื่นต้องได้รับการฝึกฝน ถ้าไม่อยากทำตามเสียงส่วนใหญ่ก็ต้องรู้จักปฏิเสธ และต้องยอมรับผลของการปฏิเสธด้วย

                กติกาเรื่องเพศ ผู้หญิงรอในฐานที่ตั้งเพศสภาพ ผู้ชายต้องไม่ Take ในขณะที่ฝ่ายหญิง say No เขาปฏิเสธการร่วมเพศกระทบความสัมพันธ์ได้หรือไม่นั้น เป็นเรื่องที่จะต้องมีการทดสอบความสัมพันธ์ คนที่เป็นสามี เป็นแฟนนั้น ไม่ใช่ว่าฝ่ายหญิงจะเห็นด้วยไปทุกเรื่อง แต่ถ้าผู้ชายหรือแฟนของคุณรับไม่ได้ก็แสดงว่าเขาไม่ได้เห็นคุณเป็นคน เป็นเพียงแค่ตุ๊กตายางเมื่อถูกปฏิเสธ ดังนั้นจะต้องฝึกใจและมองเห็นความสัมพันธ์มากกว่าสิ่งเหล่านี้เป็นความซับซ้อน

                มีข้อที่สงสัยกันมากเรื่องที่ผู้หญิงปล่อยท้องเพราะเชื่อว่าผู้ชายจะไม่ทิ้งเมื่อมีลูกด้วยกันแล้ว เรื่องนี้ไม่ได้มีอะไรเป็นหลักประกัน  แม้แต่คนที่แต่งงานกันแล้วถึงมีลูกด้วยกันก็ไม่ได้หมายความว่าจะอยู่ด้วยกันจนตลอดรอดฝั่งเสมอไป การที่ผู้หญิงปล่อยให้ตั้งครรภ์ถือว่าเป็นการแบล็กเมล์ทางอารมณ์ เป็นการทำให้อีกคนหนึ่งต้องมาอยู่ด้วยกันเพราะมีชีวิตใหม่ที่เกิดขึ้น

        


เมื่อวานคุยเล่น  เรื่องลูกพรรคเพื่อไทย ร้องขอให้ "นายใหญ่" ส่งเมีย "คุณหญิงพจมาน" มาเป็น "ขอนไม้ดุ้นใหม่" ของพรรค ให้ลูกกบ-ลูกเขียดในพรรคได้เกาะ  วันนี้ ขอคุยซีเครียดซักนิด

อนาคต 'คนนินทาเมีย'
'โควิดคลาย-โรคอิจฉาคุ'
ไทย"เหนือคาดหมาย"เสมอ
วิสัยทัศน์"อินทรี-อีแร้ง"
"การ์ดเชิญ"๒๑ ตุลา.
เปิดประเทศ"เปิดตรงไหน?"