6 พ.ย.2566-รศ.นพ.ธีระ วรธนารัตน์ คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย โพสต์ผ่านเฟซบุ๊ก Thira Woratanarat เรื่อง “อัปเดตฝีดาษลิง” ระบุว่า ล่าสุดถึง 4 พ.ย. 2023 จำนวนพุ่งเป็น 582 ราย เพิ่มจากสัปดาห์ก่อน 47 ราย เฉลี่ยวันละเกือบ 7 ราย คนไทย:คนต่างชาติ = 10:1 เกือบ 60% ของเคสทั้งหมดอยู่ในกทม. แต่…จนถึงตอนนี้ พบว่าเคสฝีดาษลิงมีรายงานแล้วถึง 37 จังหวัดทั่วประเทศ
ดังที่ได้วิเคราะห์ตั้งแต่ปีก่อนแล้วว่า ย่างก้าวของฝีดาษลิงนั้นมีแนวโน้มจะเดินตามรอยเอชไอวี/เอดส์ เพราะ mode of transmission หลักนั้นคือการมีพฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ อย่างไรก็ตามจะควบคุมโรคได้ยากกว่า เพราะไม่ใช่แค่การมีเพศสัมพันธ์ แต่รวมถึงการสัมผัสใกล้ชิด รวมถึงการแพร่ผ่านละออกฝอยน้ำมูกน้ำลาย และยังมีเคยรายงานการแพร่จากมารดาสู่ทารกในครรภ์ได้อีกด้วย
แม้ infectiousness อาจไม่มาก แต่ในระดับมหภาค จะจัดการควบคุมได้ยากกว่าหากจำนวนเคสมีมากขึ้นความใส่ใจสุขภาพ และระมัดระวังในการใช้ชีวิตประจำวัน จึงเป็นเรื่องสำคัญในยุคปัจจุบัน
ข่าวที่เกี่ยวข้อง
'หมอยง' หวนระลึกโควิด19 ปีที่สองของการระบาด!
ศ.นพ.ยง ภู่รวรรณ ราชบัณฑิต สำนักวิทยาศาสตร์
'หมอยง' ไขข้อข้องใจโรคไอกรนที่แพร่ระบาดหนักช่วงนี้
ศ.ดร.ยง ภู่รวรรณ ราชบัณฑิต สำนักวิทยาศาสตร์
รู้ทัน 'โรคฝีดาษวานร' โรคระบาดป้องกันได้!
แม้ในขณะนี้สถานการณ์ของโรคฝีดาษวานรในประเทศต่างๆ ดีขึ้น จำนวนผู้ป่วยลดลงอยู่ในระดับที่ควบคุมได้ แต่ในประเทศแถบแอฟริกากลางโดยเฉพ
อาจารย์หมอจุฬาฯ แนะวิธีดูแลอาการ 'รองช้ำ' เบื้องต้นด้วยตัวเอง
รศ.นพ.ธีระ วรธนารัตน์ คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย โพสต์เฟซบุ๊กเรื่อง 'รองช้ำ หรือ Plantar fasciitis"
ราชกิจจาฯ ประกาศ อัตราค่าบริการ การรักษาพยาบาล 5 ประเภท ของผู้ประกันตน
ราชกิจจานุเบกษา เผยแพร่ประกาศคณะกรรมการการแพทย์ตามพระราชบัญญัติประกันสังคมเรื่อง หลักเกณฑ์และอัตราค่าบริการทาง
'นักไวรัสวิทยา' สรุป 3 สายพันธุ์ 'โรคฝีดาษลิง' ความรุนแรงอาจขึ้นอยู่กับช่องทางการติดเชื้อ
ดร.อนันต์ จงแก้ววัฒนา ผู้อำนวยการกลุ่มวิจัยนวัตกรรมสุขภาพสัตว์และการจัดการ ศูนย์พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีชีวภาพแห่งชาติ (ไบโอเทค) โพสต์เฟซบุ๊ก ว่า