โธ่ 'แม้ว' ตีไพ่โง่ ขออนุญาตกลับไทยเดือนกรกฎา.

ทักษิณ แพทองธาร เศรษฐา12 พ.ค.2566 - ดร.เสรี วงษ์มณฑา นักวิชาการด้านการตลาดและการสื่อสาร โพสต์เฟซบุ๊กว่า เป็นคนไทยอยากจะมาเมืองไทยเมื่อไหร่ก็ได้ ไม่มีใครห้าม แต่ไม่กลับเอง เพราะไม่ต้องการติดคุกเนื่องจากทำผิดกฎหมาย และศาลตัดสินแล้ว

ทำไมจะต้องใช้คำว่า "ขออนุญาต" และมีคำว่า "เจ้านาย" อยู่ตอนท้ายของการพูดด้วย ทำไมต้องขออนุญาต ทำไมต้องมีคำว่าเจ้านาย

ถ้าอ่านระหว่างบรรทัด เราก็ตีความได้ว่า "หากเขาไม่ได้กลับมา เป็นเพราะเจ้านายไม่อนุญาต" ใช่หรือไม่ ทำแบบนี้มันเป็นการกล่าวหาชัดๆ

ทำไมจึงบอกว่าจะกลับเดือนกรกฎาคม ถ้าอยากจะกลับจริงๆ ยอมติดคุกจริงๆอย่างที่พูด มาเมื่อไหร่ก็ได้ ไม่ต้องรอกรกฎาก็ได้

มันคือการทิ้งไพ่ใบสุดท้ายเพื่อให้ชนะการเลือกตั้งแบบ Landslide สินะ มันคงไม่ใช่ไพ่ตาย แต่เป็นไพ่โง่มากกว่า.

เพิ่มเพื่อน

ข่าวที่เกี่ยวข้อง

รองเลขาฯเพื่อไทย ฟาดกลับ 'ไอซ์ รักชนก' แซะแจกเงินหมื่นช่วงเลือกตั้งนายก อบจ.

น.ส.ลิณธิภรณ์ วริณวัชรโรจน์ สส.บัญชีรายชื่อ และรองเลขาธิการพรรคเพื่อไทย โพสต์ข้อความผ่าน X ว่า ใจเย็นๆ นิดนะคะ รัฐบาลตั้งใจส่งเงินหมื่นกระตุ้นเศรษฐกิจ ถึงมือกลุ่มเป้าหมายให้เร็วที่สุด

ระทึกสุดขีด! 22 พ.ย. ศาลรธน.ลงมติ 'รับ-ไม่รับ' คำร้อง 'ทักษิณ-เพื่อไทย' ล้มล้างการปกครอง

คอนเฟิร์ม ศุกร์นี้ 22 พ.ย. 9 ตุลาการศาลรธน.นัดประชุมวาระพิเศษ หลังงดมาสองรอบ เตรียมนำหนังสือ-ความเห็นอัยการสูงสุด กางบนโต๊ะประชุม ก่อนลุ้นโหวตลงมติ”รับ-ไม่รับคำร้อง”คดีทักษิณ-เพื่อไทย โดนร้องล้มล้างการปกครองฯ

'แพทองธาร' โชว์วิชั่น การเมืองมีเสถียรภาพ ประเทศไทยจะดีขึ้น!

นายกฯ โชว์วิชั่น Forbes ไทยสงบ สันติ หวังรัฐบาลเปลี่ยน นายกฯเปลี่ยน แต่นโยบายเพื่อปชช.เดินหน้า บอกต่างชาติเจอคำถามแรกถามพ่อ-อาเป็นอย่างไร ย้ำการเมืองมั่นคง มีเสถียรภาพแน่นอน

ไทยในสายตาต่างชาติ (ตอนที่ 48: พระราชกฤษฎีกา 1 เมษายน 2476 คือ การทำรัฐประหารเงียบหรือ ?)

ในตอนที่แล้ว ผู้เขียนได้สรุปเหตุการณ์สำคัญต่างๆที่เป็นเงื่อนไขที่นำมาสู่การประกาศพระราชกฤษฎีกาวันที่ 1 เมษายน พ.ศ. 2476

'อนุทิน' เช็กสัญญาณ ครม.อิ๊งค์ ปมศาลรธน.นัดถกรับ-ไม่รับคำร้อง คดีทักษิณ-เพื่อไทย ล้มล้างการปกครอง

ที่ด่านพรมแดนบ้านผักกาด ตำบลคลองใหญ่ อำเภอโป่งน้ำร้อน จังหวัดจันทบุรี นายอนุชิน ชาญวีรกูล รองนายกรัฐมนตรีและรมว.มหาดไทย กล่าวถึงกรณี ที่ในวันพรุ่งนี้(22 พ.ย.) ศาลรัฐธรรมนูญจะพิจารณารับคำร้อง