2 ส.ค. 2567 – กรมอุตุนิยมวิทยา สรุปปริมาณฝนสะสมรายวันที่ผ่านมา (30 กรกฎาคม – 1 สิงหาคม 2567)
โดยวันที่ 30 กรกฎาคม 2567 ปริมาณฝนลดลงในบริเวณภาคตะวันออก ส่วนปริมาณฝนสูงสุด (ฝนหนักมาก) วัดได้ 119.4 มิลลิเมตร (มม.) ที่ จ.ตราด
วันที่ 31 กรกฎาคม 2567 ปริมาณฝนเพิ่มขึ้นในบริเวณภาคเหนือและภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ส่วนปริมาณฝนสูงสุด (ฝนหนักมาก) วัดได้ 145.5 มม. ที่ จ.บึงกาฬ
วันที่ 1 สิงหาคม 2567 ปริมาณฝนลดลงในทุกภาค ยกเว้นภาคใต้ ส่วนปริมาณฝนสูงสุด (ฝนหนัก) วัดได้ 59.0 มม. ที่ จ.พระนครศรีอยุธยา
ขณะที่ปริมาณฝนสูงสุด 10 อันดับ ได้แก่ 1.พระนครศรีอยุธยา วัดได้ 59.0 มม. 2.น่าน วัดได้ 52.6 มม. 3.สุราษฎร์ธานี 50.8 มม. 4.แพร่ วัดได้ 49.3 มม. 5.นครศรีธรรมราช วัดได้ 48.1 มม. 6.อุตรดิตถ์ วัดได้ 47.6 มม. 7.เชียงราย วัดได้ 46.2 มม. 8.ลพบุรี วัดได้ 44.7 มม. 9.ยะลา วัดได้ 44.1 มม. และ10.นครนายก วัดได้ 44.0 มม.
ข่าวที่เกี่ยวข้อง
เหนือ-อีสาน อากาศเย็นตอนเช้า ภาคใต้ฝนตกหนัก ถึงหนักมากบางแห่ง
กรมอุตุนิยมวิทยา พยากรณ์อากาศ 24 ชั่วโมงข้างหน้า บริเวณความกดอากาศสูงหรือมวลอากาศเย็นกำลังปานกลางจากประเทศจีนปกคลุมประเทศไทยตอนบนและทะเลจีนใต้
กรมอุตุฯเตือน 9 จังหวัดภาคใต้มีฝนตกหนัก หวั่นเกิดน้ำท่วมฉับพลัน
นางสาวสุกันยาณี ยะวิญชาญ อธิบดีกรมอุตุนิยมวิทยา ออกประกาศกรมอุตุนิยมวิทยา เรื่อง ฝนตกหนักถึงหนักมากบริเวณภาคใต้ ฉบับที่ 4 (304/2567) (มีผลกระทบจนถึงวันที่ 23 พฤศจิกายน 2567) มีใจความว่า
กรมอุตุฯ ประกาศฉบับ 3 เตือนฝนถล่มภาคใต้ คลื่นลมอ่าวไทย-อันดามันจะมีกำลังแรงขึ้น
กรมอุตุนิยมวิทยา ประกาศเรื่อง ฝนตกหนักถึงหนักมากบริเวณภาคใต้ ฉบับที่ 3 (มีผลกระทบจนถึงวันที่ 23 พฤศจิกายน 2567)
'เหนือ-อีสาน' ยังเย็นต่อเนื่องส่วน 'ภาคใต้' ฝนถล่มหนัก
กรมอุตุนิยมวิทยาได้พยากรณ์อากาศ 24 ชั่วโมงข้างหน้าในลักษณะทั่วไป
โฆษกศปช. เผยกรณี 'น้ำผุด' อ.เชียงดาว มอบหน่วยงานลงพื้นที่ศึกษาแนวทางใช้ประโยชน์
นายจิรายุ ห่วงทรัพย์ ที่ปรึกษาของนายกรัฐมนตรีและโฆษกศูนย์ปฏิบัติการช่วยเหลือผู้ประสบอุทกภัย วาตภัย และดินโคลนถล่ม (ศปช.) เปิดเผยว่า ตามที่ ศปช. ได้เคยประกาศแจ้งเตือนให้ประชาชนในพื้นที่ภาคใต้เฝ้าระวังฝนตกหนักในพื้นที่ระหว่างวันที่ 20-24 พ.ย.ไปแล้วก่อนหน้านี้
คนกรุงร้องเพลงรอลมหนาวต่อ 'ภาคใต้' เจอมรสุมฝนถล่มหนัก
กรมอุตุนิยมวิทยาได้พยากรณ์อากาศ 24 ชั่วโมงข้างหน้าในลักษณะทั่วไป