23 มิ.ย. 2567 – กรมอุตุนิยมวิทยา ออกประกาศฉบับที่ 4 แจ้งเตือน ฝนตกหนักถึงหนักมากบริเวณประเทศไทย
และคลื่นลมแรงบริเวณทะเลอันดามัน(มีผลกระทบตั้งแต่วันที่ 23 – 26 มิถุนายน 2567)
โดย กรมอุตุฯ ชี้แจงว่า มรสุมตะวันตกเฉียงใต้ที่พัดปกคลุมทะเลอันดามัน ประเทศไทย และอ่าวไทยมีกำลังค่อนข้างแรง ประกอบกับแนวร่องมรสุมพาดผ่านภาคเหนือ และภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ในขณะที่หย่อมความกดอากาศต่ำปกคลุมบริเวณทะเลจีนใต้ตอนกลางมีแนวโน้มจะทวีกำลังแรงขึ้น ลักษณะเช่นนี้ทำให้ประเทศไทยมีฝนตกหนักหลายพื้นที่ โดยมีฝนตกหนักมากบางแห่ง ขอให้ประชาขนบริเวณประเทศไทยระวังอันตรายจากฝนตกหนักถึงหนักมากและฝนที่ตกสะสม ซึ่งอาจทำให้เกิดน้ำท่วมฉับพลันและน้ำป่าไหลหลาก โดยเฉพาะพื้นที่ลาดเชิงเขาใกส้ทางน้ำใหลผ่านและพื้นที่ลุ่ม รวมทั้งเพิ่มความระมัดระวังในการสัญจรผ่านบริเวณที่มีฝนฟ้าคะนองไว้ด้วย
จังหวัดที่คาดว่าจะมีฝนตกหนักถึงหนักมากบางแห่ง มีดังนี้
วันที่ 23 มิถุนายน 2567
ภาคเหนือ จังหวัด แม่ฮ่องสอน น่าน อุตรติตถ์ พิษณุโลก เพชรบูรณ์ และตาก
ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ จังหวัดเลย หนองคาย บึงกาฬ หนองบัวลำภู อุดรธานี สกลนคร นครพนม มุกคาหาร
ยโสธร กาพสินธุ์ ชอนแก่น ชัยภูมิ นครราชสีมา มหาสารคาม ร้อยเอ็ด อำนาจเจริญ
บุรีรัมย์ สุรินทร์ ศรีสะเกษ และอุบลราชธานี
ภาคกลาง: จังหวัดนครสวรรค์ อุทัยธานี ชัยนาท กาญจนบุรี ราชบุรี ลพบุรี และสระบุรี
ภาคตะวันออก: จังหวัดนครนายก ปราจีนบุรี สระแก้ว ระยอง จันทบุรี และตราด
ภาคใต้: จังหวัดประจวบศีรีขันธ์ ชุมพร สุราษฎร์ธานี นครศรีธรรมราช ระนอง พังงา ภูเก็ต กระบี่ และตรัง
วันที่ 24 มิถุนายน 2567
ภาคเหนือ: จังหวัดแม่ฮ่องสอน เชียงราย พะเยา น่าน อุตรติตถ์ กำแพงเพชร และตาก
ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ: จังหวัดหนองคาย บึงกาฬ อุดรธานี สกลนคร นครพนม กาฬสินธุ์ มุกดาหาร ร้อยเอ็ด ยโสยร อำนาจเจริญ นครราชสีมา บุรีรัมย์ สุรินทร์ ศรีสะเกษ และอุบลราชธานี
ภาคกลาง จังหวัดนครสวรรค์ อุทัยธานี กาญจนบุรี ราชบุรี และสระบุรี
ภาคตะวันออก: จังหวัด นครนายก ปราจีนบุรี สระแก้ว ฉะเชิงเทรา ชลบุรี ระยอง จันทบุรี และตราด
ภาคใต้: จังหวัดเพชรบุรี ประจวบศีรีขันธ์ ชุมพร สุราษฎร์ธานี นครศรีธรรมราช พัทลุงระนอง พังงา ภูเก็ต กระบี่ และตรัง
วันที่ 25-26 มิถุนายน 2567
ภาคเหนือ จังหวัดแม่ฮ่องสอน เขียงใหม่ เชียงราย ลำพูน ลำปาง พะเยา น่าน แพร่ อุตรศิตถ์ สุโขทัย
กำแพงเพขร พิจิตร พิษณุโลก เพชรบูรณ์ และตาก
ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ: จังหวัดเลย หนองคาย บึงกาฬ หนองบัวสำภู อุตรธานี สกลนคร นครพนม
กาฬสินธุ์ มุกดาหาร อำนาจเจริญ และอุบลราชธานี
ภาคกลาง: จังหวัดนครสวรรตํ อุทัยธานี สระบุรี พระนครศรีอยุธยา กาญจนบุรี ราชบุรี นครปฐม
สมุทรสงคราม และสมุทรสาคร รวมทั้งกรุงเทพมหานครและปริมณฑล
ภาคตะวันออก: จังหวัดนครนายก ปราจีนบุรี ชลบุรี ระยอง จันทบุรี และตราด
ภาคใต้: จังหวัดเพขรบุรี ประจวบศีรีขันธ์ ชุมพร ระนอง พังงา ภูเก็ต กระบี่ และตรัง
สำหรับคลื่นลมบริเวณทะเลอันดามันมีกำลังค่อนข้างแรง โดยมีคลื่นสูง 2 3 เมต ร บริเวณที่มีฝนฟ้าคะนองคลื่นสูงมากกว่า 3 มตร ส่วนอ่าวไทยตอนบนทะเลมีคลื่นสูงประมาณ 2 เมตร บริเวณที่มีฝนาคะนองคลื่นสูงมากกว่า 2 เมตร ขอให้ชาวเรือในบริเวณตังกล่าวเตินเรือด้วยความระมัตระวังและหลีกเสี่ยงการเตินเรือในบริเวณที่มีฝนฟ้าคะนอง สำหรับเรือเล็กบริเวณทะเสอันดามันควรงดออกจากฝั่งไว้ด้วย
จึงขอให้ประชาชนติตตามประกาศจากกรมอุตุนิยมวิทยา และสามารถติดตามข้อมูลที่เว็บไซต์กรมอุตุนิยมวิทยา
http://www.tmd.go.th หรือที่ 0-2399-4012-13 และ 1182 ได้ตลอด 24 ชั่วไมง
ประกาศ ณ วันที่ 23 มิถุนายน พ.ศ. 2567 เวลา 05.00 น.
กรมอุตุนิยมริทยาจะอกประกาศฉบับต่อไปใน วันที่ 23 มิถุนายน พ.ศ. 2567 เวลา 17.00 น.
(ลงชื่อ) กรรวี สิทธิชีวภาล
(นางสาวกรรรี สิทธิชีวภาค)
อธิบตีกรมอุตุนิยฆวิทยา
ข่าวที่เกี่ยวข้อง
กรมอุตุฯ ประกาศฉบับ 3 เตือนฝนถล่มภาคใต้ คลื่นลมอ่าวไทย-อันดามันจะมีกำลังแรงขึ้น
กรมอุตุนิยมวิทยา ประกาศเรื่อง ฝนตกหนักถึงหนักมากบริเวณภาคใต้ ฉบับที่ 3 (มีผลกระทบจนถึงวันที่ 23 พฤศจิกายน 2567)
'เหนือ-อีสาน' ยังเย็นต่อเนื่องส่วน 'ภาคใต้' ฝนถล่มหนัก
กรมอุตุนิยมวิทยาได้พยากรณ์อากาศ 24 ชั่วโมงข้างหน้าในลักษณะทั่วไป
โฆษกศปช. เผยกรณี 'น้ำผุด' อ.เชียงดาว มอบหน่วยงานลงพื้นที่ศึกษาแนวทางใช้ประโยชน์
นายจิรายุ ห่วงทรัพย์ ที่ปรึกษาของนายกรัฐมนตรีและโฆษกศูนย์ปฏิบัติการช่วยเหลือผู้ประสบอุทกภัย วาตภัย และดินโคลนถล่ม (ศปช.) เปิดเผยว่า ตามที่ ศปช. ได้เคยประกาศแจ้งเตือนให้ประชาชนในพื้นที่ภาคใต้เฝ้าระวังฝนตกหนักในพื้นที่ระหว่างวันที่ 20-24 พ.ย.ไปแล้วก่อนหน้านี้
คนกรุงร้องเพลงรอลมหนาวต่อ 'ภาคใต้' เจอมรสุมฝนถล่มหนัก
กรมอุตุนิยมวิทยาได้พยากรณ์อากาศ 24 ชั่วโมงข้างหน้าในลักษณะทั่วไป
ลมหนาวมาต่อเนื่อง กรมอุตุฯ เผยเหนือ-อีสาน อุณหภูมิลดฮวบ 2-4 องศา
กรมอุตุนิยมวิทยา พยากรณ์อากาศ 7 วันข้างหน้า ในช่วงวันที่ 18 - 22 พ.ย. 67 บริเวณความกดอากาศสูงหรือมวลอากาศเย็นกำลังปานกลางจากประเทศจีนปกคลุมประเทศไทยตอนบนและทะเลจีนใต้