พื้นที่ กทม. ชั้นใน ค่าฝุ่น PM 2.5 เกินมาตรฐาน

12 มี.ค. 2567 – ศูนย์ข้อมูลคุณภาพอากาศกรุงเทพมหานคร ขอรายงานสถานการณ์ฝุ่นละอองขนาดไม่เกิน 2.5 ไมครอน (PM 2.5) ในกรุงเทพมหานคร ประจำวันที่ 12 มีนาคม 2567 เวลา 07:00 น.

ค่าเฉลี่ยของกรุงเทพมหานคร 36 ไมโครกรัมต่อลูกบาศก์เมตร (มคก./ลบ.ม.)

5 อันดับ ของค่าฝุ่น PM2.5 เขตสูงสุดในกรุงเทพมหานคร

1.เขตสาทร 48.4 มคก./ลบ.ม.
2.เขตปทุมวัน 46.8 มคก./ลบ.ม.
3.เขตบางกอกน้อย 44.8 มคก./ลบ.ม.
4.เขตคลองสาน 44.3 มคก./ลบ.ม.
5.เขตบึงกุ่ม 43.2 มคก./ลบ.ม.

1.กรุงเทพเหนือ
32.9 – 38.1 มคก./ลบ.ม.
ภาพรวม : อยู่ในเกณฑ์ปานกลาง

2.กรุงเทพตะวันออก
28.8 – 43.2 มคก./ลบ.ม.
ภาพรวม : อยู่ในเกณฑ์ปานกลาง

3.กรุงเทพกลาง
31 – 42.2 มคก./ลบ.ม.
ภาพรวม : อยู่ในเกณฑ์ปานกลาง

4.กรุงเทพใต้
28.2 – 48.4 มคก./ลบ.ม. ภาพรวม : อยู่ในเกณฑ์เริ่มมีผลกระทบต่อสุขภาพ

5.กรุงธนเหนือ
34.4 – 44.8 มคก./ลบ.ม.
ภาพรวม : อยู่ในเกณฑ์เริ่มมีผลกระทบต่อสุขภาพ

6.กรุงธนใต้
27.2 – 37 มคก./ลบ.ม.
ภาพรวม : อยู่ในเกณฑ์ปานกลาง
ฝุ่นละอองมีแนวโน้มเพิ่มขึ้น ภาพรวมอยู่ในเกณฑ์คุณภาพอากาศปานกลาง

เพิ่มเพื่อน

ข่าวที่เกี่ยวข้อง

เตรียมรับมือหมอกควัน-ฝุ่นพิษ 2568

ใกล้จะเข้าสู่ฤดูกาลฝุ่นช่วงเวลาที่ฝุ่นละอองขนาดเล็ก PM 2.5 จะเริ่มสูงขึ้นในพื้นที่กรุงเทพมหานครและปริมณฑล ซึ่งกรมอุตุนิยมวิทยาประเมินช่วงหลังวันที่ 23 ตุลาคม 2567 ประเทศไทยตอนบนจะเริ่มมีฝนที่ลดลง และจะมีมวลอากาศเย็นแผ่เข้ามาบริเวณภาคเหนือ และภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทย

'หมอชูชัย' ชงยุทธศาสตร์แก้ PM2.5 หนุน HIA สร้างความเข้มแข็งชุมชนท้องถิ่น ภาคธุรกิจร่วมรับผิดชอบ

'หมอชูชัย' ชี้ปัญหาหมอกควันและฝุ่น PM 2.5 เป็นปัญหามลพิษทางอากาศที่สำคัญ เกิดขึ้นต่อเนื่องมาเป็นประจำทุกปี ยังไม่ได้รับการแก้ไขอย่างจริงจัง เสนอยุทธศาสตร์สนับสนุน HIA สร้างความเข้มแข็งอบจ.และชุมชนท้องถิ่นทั่วประเทศ เรียกร้องภาคธุรกิจมีความรับผิดชอบพัฒนาอย่างยั่งยืน

กรุงเทพโปรดิ๊วส นำระบบตรวจสอบย้อนกลับข้าวโพด หนุนปฏิบัติการ 9 มาตรการของรัฐบาล สู้วิกฤตฝุ่น PM 2.5 บูรณาการพลังคู่ค้าพันธมิตร และคนไทยหยุดเผาแปลง

การจัดการปัญหาฝุ่นละออง PM 2.5 ซึ่งเป็นวาระเร่งด่วนระดับประเทศ ต้องอาศัยความร่วมมือจากทุกภาคส่วนตามที่นายกรัฐมนตรีเศรษฐา ทวีสิน