3 ก.พ. 2566 – ศูนย์ข้อมูลคุณภาพอากาศกรุงเทพมหานคร สรุปผลการตรวจวัด PM2.5 วันที่ 3 กุมภาพันธ์ 2566 เวลา 05.00-07.00 น. (3 ชั่วโมงล่าสุด) โดยตรวจวัดได้ 61-116 ไมโครกรัม (มคก.) / ลูกบาศก์เมตร (ลบ.ม.) ค่าเฉลี่ยของกรุงเทพมหานคร 85.2 มคก./ลบ.ม.
ค่า PM2.5 มีแนวโน้มลดลง เกินมาตรฐานจำนวน 70 พื้นที่ อยู่ในระดับเริ่มมีผลกระทบต่อสุขภาพ จำนวน 39 พื้นที่ และมีผลกระทบต่อสุขภาพ จำนวน 31 พื้นที่
ทั้งนี้ ณ เวลา 07.00 น. ตรวจวัดค่าฝุ่นละออง PM2.5 ได้ 61-105 มคก./ลบ.ม. (ค่ามาตรฐานไม่เกิน 50 มคก./ลบ.ม.) โดยมีแนวโน้มลดลงเมื่อเทียบกับเมื่อวานในช่วงเวลาเดียวกัน และพบว่าเกินมาตรฐาน (มาตรฐานไม่เกิน 50 มคก./ลบ.ม.) จำนวน 70 พื้นที่ คือ
1.เขตประเวศ ด้านหน้าห้างสรรพสินค้าซีคอน สแควร์ : มีค่าเท่ากับ 105 มคก./ลบ.ม.
2.เขตหนองแขม สามแยกข้างป้อมตำรวจ ถนนมาเจริญ เพชรเกษม 81 : มีค่าเท่ากับ 104 มคก./ลบ.ม.
3.เขตทวีวัฒนา ทางเข้าสนามหลวง 2 : มีค่าเท่ากับ 103 มคก./ลบ.ม.
4.เขตบึงกุ่ม ภายในสำนักงานเขตบึงกุ่ม : มีค่าเท่ากับ 101 มคก./ลบ.ม.
5.เขตสาทร สี่แยกหน้าสำนักงานเขตสาทร ซอย ถนนเซนต์หลุยส์ : มีค่าเท่ากับ 101 มคก./ลบ.ม.
6.เขตยานนาวา ใกล้ธนาคารกรุงศรีอยุธยา สำนักงานใหญ่ : มีค่าเท่ากับ 100 มคก./ลบ.ม.
7.เขตหลักสี่ ภายในสำนักงานเขตหลักสี่ : มีค่าเท่ากับ 95 มคก./ลบ.ม.
8.เขตปทุมวัน หน้าห้างสามย่านมิตรทาวน์ : มีค่าเท่ากับ 93 มคก./ลบ.ม.
9.เขตสัมพันธวงศ์ บริเวณหน้าหัวมุม ซุ้มประตูเฉลิมพระเกียรติ (วงเวียนโอเดียน) : มีค่าเท่ากับ 92 มคก./ลบ.ม.
10.เขตคลองเตย ภายในสำนักงานเขตคลองเตย : มีค่าเท่ากับ 91 มคก./ลบ.ม.
11.เขตธนบุรี ริมป้ายรถเมล์บริเวณแยกมไหศวรรย์ : มีค่าเท่ากับ 91 มคก./ลบ.ม.
12.เขตลาดกระบัง ด้านหน้าโรงพยาบาลลาดกระบังข้างป้อมตำรวจ : มีค่าเท่ากับ 90 มคก./ลบ.ม.
13.เขตคลองสาน บริเวณหน้าห้องสมุดใต้สะพานสมเด็จพระเจ้าตากสิน : มีค่าเท่ากับ 90 มคก./ลบ.ม.
14.เขตตลิ่งชัน ถนนพุทธมณฑลสาย 1 ตัดกับถนนบรมราชชนนี : มีค่าเท่ากับ 90 มคก./ลบ.ม.
15.เขตบางขุนเทียน ภายในสำนักงานเขตบางขุนเทียน : มีค่าเท่ากับ 90 มคก./ลบ.ม.
16.เขตภาษีเจริญ หน้ามหาวิทยาลัยสยาม(ประมาณซอยเพชรเกษม 36) ทางเข้ามหาวิทยาลัย : มีค่าเท่ากับ 89 มคก./ลบ.ม.
17.เขตบางกอกใหญ่ บริเวณสี่แยกท่าพระ แขวงวัดท่าพระ : มีค่าเท่ากับ 89 มคก./ลบ.ม.
18.เขตบางรัก ข้างป้อมตำรวจหน้าลานบางรักเลิฟลี่ พลาซ่า : มีค่าเท่ากับ 89 มคก./ลบ.ม.
19.เขตบางเขน ภายในสำนักงานเขตบางเขน : มีค่าเท่ากับ 88 มคก./ลบ.ม.
20.เขตวังทองหลาง ด้านหน้าปั๊มน้ำมัน เอสโซ่ ซ.ลาดพร้าว 95 : มีค่าเท่ากับ 88 มคก./ลบ.ม.
21.เขตบางซื่อ ภายในสำนักงานเขตบางซื่อ : มีค่าเท่ากับ 88 มคก./ลบ.ม.
22.เขตสายไหม ป้ายรถเมล์ด้านหน้าสำนักงานเขตสายไหม : มีค่าเท่ากับ 87 มคก./ลบ.ม.
23.เขตดอนเมือง ด้านข้างสำนักงานเขตดอนเมือง : มีค่าเท่ากับ 87 มคก./ลบ.ม.
24.เขตบางพลัด ภายในสำนักงานเขตบางพลัด : มีค่าเท่ากับ 87 มคก./ลบ.ม.
25.เขตบางนา บริเวณหน้าห้าง สรรพสินค้าบิ๊กซี บางนา : มีค่าเท่ากับ 87 มคก./ลบ.ม.
26.เขตบางกอกน้อย บริเวณหน้าสถานีตำรวจรถไฟบางกอกน้อย : มีค่าเท่ากับ 85 มคก./ลบ.ม.
27.เขตบางบอน ใกล้ตลาดสุขสวัสดี : มีค่าเท่ากับ 85 มคก./ลบ.ม.
28.สวนทวีวนารมย์ เขตทวีวัฒนา เขตทวีวัฒนา : มีค่าเท่ากับ 85 มคก./ลบ.ม.
29.เขตคลองสามวา ภายในสำนักงานเขตคลองสามวา : มีค่าเท่ากับ 84 มคก./ลบ.ม.
30.เขตจอมทอง ภายในสำนักงานเขตจอมทอง : มีค่าเท่ากับ 83 มคก./ลบ.ม.
31.เขตราษฎร์บูรณะ ภายในสำนักงานเขตราษฎร์บูรณะ : มีค่าเท่ากับ 82 มคก./ลบ.ม.
32.สวนธนบุรีรมย์ เขตทุ่งครุ เขตทุ่งครุ : มีค่าเท่ากับ 82 มคก./ลบ.ม.
33.สวนรมณีย์ทุ่งสีกัน เขตดอนเมือง เขตดอนเมือง : มีค่าเท่ากับ 82 มคก./ลบ.ม.
34.เขตจตุจักร บริเวณด้านหน้ามหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ : มีค่าเท่ากับ 82 มคก./ลบ.ม.
35.เขตพญาไท หน้าแฟลตทหารบกใกล้โรงพยาบาลวิชัยยุทธ ตรงข้ามกระทรวงการคลัง : มีค่าเท่ากับ 81 มคก./ลบ.ม.
36.เขตหนองจอก บริเวณหน้าสำนักงานเขตหนองจอก : มีค่าเท่ากับ 81 มคก./ลบ.ม.
37.สวนเบญจกิติ เขตคลองเตย เขตคลองเตย : มีค่าเท่ากับ 81 มคก./ลบ.ม.
38.เขตทุ่งครุ หน้ามหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี : มีค่าเท่ากับ 81 มคก./ลบ.ม.
39.เขตบางคอแหลม บริเวณป้อมตำรวจสี่แยกถนนตก : มีค่าเท่ากับ 80 มคก./ลบ.ม.
40.อุทยานเบญจสิริ (สวนเบญจสิริ) เขตคลองเตย เขตคลองเตย : มีค่าเท่ากับ 80 มคก./ลบ.ม.
41.เขตบางแค ภายในสำนักงานเขตบางแค : มีค่าเท่ากับ 79 มคก./ลบ.ม.
42.เขตพระนคร ภายในสำนักงานเขตพระนคร : มีค่าเท่ากับ 79 มคก./ลบ.ม.
43.เขตดินแดง ริมถนนวิภาวดีรังสิต : มีค่าเท่ากับ 79 มคก./ลบ.ม.
44.เขตมีนบุรี สวนเฉลิมพระเกียรติ ร.9 ตรงข้ามสำนักงานเขตมีนบุรี : มีค่าเท่ากับ 78 มคก./ลบ.ม.
45.เขตคันนายาว บริเวณปากทางถนนสวนสยามตัดกับถนนรามอินทรา : มีค่าเท่ากับ 78 มคก./ลบ.ม.
46.เขตราชเทวี ภายในสำนักงานเขตราชเทวี : มีค่าเท่ากับ 78 มคก./ลบ.ม.
47.เขตสวนหลวง ด้านหน้าสำนักงานเขตสวนหลวง : มีค่าเท่ากับ 77 มคก./ลบ.ม.
48.เขตวัฒนา ตรงข้าม noble Reveal(ข้าง MK gold restaurants) : มีค่าเท่ากับ 76 มคก./ลบ.ม.
49.สวนบางแคภิรมย์ เขตบางแค เขตบางแค : มีค่าเท่ากับ 76 มคก./ลบ.ม.
50.สวนหนองจอก เขตหนองจอก เขตหนองจอก : มีค่าเท่ากับ 75 มคก./ลบ.ม.
51.สวนเสรีไทย เขตบึงกุ่ม เขตบึงกุ่ม : มีค่าเท่ากับ 75 มคก./ลบ.ม.
52.สวนกีฬารามอินทรา เขตบางเขน เขตบางเขน : มีค่าเท่ากับ 75 มคก./ลบ.ม.
53.เขตพระโขนง ภายในสำนักงานเขตพระโขนง : มีค่าเท่ากับ 75 มคก./ลบ.ม.
54.สวนวชิรเบญจทัศ เขตจตุจักร เขตจตุจักร : มีค่าเท่ากับ 75 มคก./ลบ.ม.
55.เขตดุสิต ริมสวนหย่อมตรงข้ามสำนักงานเขตดุสิต : มีค่าเท่ากับ 75 มคก./ลบ.ม.
56.สวนสันติภาพ เขตราชเทวี เขตราชเทวี : มีค่าเท่ากับ 74 มคก./ลบ.ม.
57.เขตบางกะปิ ข้าง ป้อมตำรวจตรงข้ามสำนักงาน เขตบางกะปิ : มีค่าเท่ากับ 74 มคก./ลบ.ม.
58.เขตลาดพร้าว ภายในสำนักงานเขตลาดพร้าว : มีค่าเท่ากับ 73 มคก./ลบ.ม.
59.สวนหลวง ร.9 เขตประเวศ เขตประเวศ : มีค่าเท่ากับ 71 มคก./ลบ.ม.
60.สวน 60 พรรษาสมเด็จพระนางเจ้าพระบรมราชินีนาถ เขตลาดกระบัง เขตลาดกระบัง : มีค่าเท่ากับ 71 มคก./ลบ.ม.
61.เขตป้อมปราบศัตรูพ่าย ด้านหน้าสำนักงานคณะกรรมการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ : มีค่าเท่ากับ 71 มคก./ลบ.ม.
62.สวนสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ฯ เขตจตุจักร เขตจตุจักร : มีค่าเท่ากับ 70 มคก./ลบ.ม.
63.เขตห้วยขวาง ภายในสำนักงานเขตห้วยขวาง (ด้านข้างโรงเพาะชำ) ถนนประชาอุทิศ : มีค่าเท่ากับ 69 มคก./ลบ.ม.
64.สวนจตุจักร เขตจตุจักร เขตจตุจักร : มีค่าเท่ากับ 68 มคก./ลบ.ม.
65.สวนเฉลิมพระเกียรติ 80 พรรษา เขตบางกอกน้อย เขตบางกอกน้อย : มีค่าเท่ากับ 67 มคก./ลบ.ม.
66.เขตสะพานสูง ภายในสำนักงานเขตสะพานสูง : มีค่าเท่ากับ 67 มคก./ลบ.ม.
67.สวนลุมพินี เขตปทุมวัน เขตปทุมวัน : มีค่าเท่ากับ 67 มคก./ลบ.ม.
68.สวนสาธารณะเฉลิมพระเกียรติ 6 รอบพระชนมพรรษา เขตบางคอแหลม เขตบางคอแหลม : มีค่าเท่ากับ 66 มคก./ลบ.ม.
69.สวนพระนคร เขตลาดกระบัง เขตลาดกระบัง : มีค่าเท่ากับ 65 มคก./ลบ.ม.
70.สวนหลวงพระราม 8 เขตบางพลัด เขตบางพลัด : มีค่าเท่ากับ 61 มคก./ลบ.ม.
ปัจจัยที่เกี่ยวข้อง(คาดการณ์แนวโน้มสภาพอากาศที่ส่งผลกระทบต่อฝุ่นPM2.5 โดยสภาพทางอุตุนิยมวิทยา)คาดว่าอัตราการระบายอากาศในช่วงวันที่ 2 – 4 ก.พ. 66 จะไม่ดี/อ่อน เนื่องจากเพดานอากาศต่ำ เกิดสภาวะอากาศปิดอย่างต่อเนื่อง ส่งผลให้เกิดการสะสมของฝุ่นละออง PM2.5 มีแนวโน้มเพิ่มขึ้นหรือลดลงสลับกันในช่วงนี้
สำหรับในช่วงวันที่ 5 – 8 ก.พ.66 คาดว่าอัตราการระบายอากาศจะดี มีฝนบางพื้นที่ จากทิศใต้ และลมตะวันออกเฉียงใต้ พัดนำความชื้นจากทะเลจีนใต้และอ่าวไทยพัดเข้ามาปกคลุมแทนที่ลมหนาว ส่วนมวลอากาศเย็นที่แผ่ปกคลุมเริ่มมีกำลังอ่อนลง ทำให้ประเทศไทยตอนบน มีอุณหภูมิสูงขึ้น กลางวันอากาศร้อน ส่งผลให้เกิดการสะสมของฝุ่นละออง PM2.5 มีแนวโน้มลดลง และวันนี้พื้นที่กรุงเทพมหานครและปริมณฑลมีหมอกในตอนเช้า โดยมีฝนเฟ้าคะนอง ร้อยละ 40 ของพื้นที่
ช่วงวันที่ 2 – 4 ก.พ. 2566 พื้นที่กรุงเทพและปริมณฑลควรเฝ้าระวังการสะสมของฝุ่นละออง เนื่องจากสภาพอากาศที่นิ่ง และปิด โดยพื้นที่ที่ควรเฝ้าระวัง ได้แก่ พื้นที่กรุงเทพกลาง กรุงธนเหนือ และกรุงธนใต้ (พื้นที่ท้ายลม)
จากการตรวจสอบข้อมูลจุดความร้อน (hotspot) ผ่านดาวเทียม จากหน่วยงาน NASA ไม่พบจุดความร้อนที่ดาวเทียมตรวจพบค่าความร้อนสูงผิดปกติจากค่าความร้อนบนผิวโลกบริเวณพื้นที่กรุงเทพมหานคร
ประชาชนสามารถตรวจสอบข้อมูลคุณภาพอากาศก่อนออกจากบ้าน ผ่านทาง แอปพลิเคชัน AirBKK, www.airbkk.com, www.pr-bangkok.com, FB: สำนักสิ่งแวดล้อม กรุงเทพมหานคร, FB: กองจัดการคุณภาพอากาศและเสียง สำนักสิ่งแวดล้อม, FB: กรุงเทพมหานคร
เพื่อวางแผนการทำงาน การทำกิจกรรมโดยเฉพาะในพื้นที่ที่คุณภาพอากาศอยู่ในระดับเริ่มมีผลกระทบต่อสุขภาพ/มีผลกระทบต่อสุขภาพ ควรลดระยะเวลา หรืองดการทำกิจกรรมกลางแจ้ง
ทั้งนี้ กรณีประชาชนพบเห็นแหล่งกำเนิดมลพิษสามารถแจ้งเบาะแส ผ่านทาง Traffy Fondue.
ข่าวที่เกี่ยวข้อง
PM2.5 มาแล้ว พบ ‘กทม.’ ฝุ่นละอองเกินค่ามาตรฐาน 1 พื้นที่
ภาพรวมปริมาณ PM2.5 ในประเทศอยู่ในเกณฑ์มาตรฐานเป็นส่วนใหญ่ พบเกินค่ามาตรฐานในกรุงเทพฯ
อากาศเปลี่ยนแปลง ‘กทม.’ อุณหภูมิลดลง ‘เหนือ-อีสาน’ หนาวเย็น ‘ภาคใต้’ ฝนตก
พยากรณ์อากาศ 24 ชั่วโมงข้างหน้า บริเวณความกดอากาศสูงหรือมวลอากาศเย็นกำลังปานกลางจากประเทศจีนแผ่ปกคลุมประเทศไทยตอนบน และทะเลจีนใต้แล้ว
คนกรุงอ่วม! ฝุ่น PM2.5 เกินค่ามาตรฐาน 27 พื้นที่
ศูนย์สื่อสารการแก้ไขปัญหามลพิษทางอากาศ รายงานการติดตามตรวจสอบคุณภาพอากาศ ประจำวันที่ 15 พฤศจิกายน 2567 ณ 07:00 น. สรุปดังนี้
เอ็ม บี เค เซ็นเตอร์ ร่วมกับกทม. ชวนสายรักษ์โลกสืบสานประเพณี “ลอยกระทงดิจิทัล 2024” ใจกลางกรุง บนลาน Skywalk วันที่ 14-15 พ.ย.นี้
นางสาวพุทธชาด ศรีนิศากร ประธานเจ้าหน้าที่บริหารสายการตลาด บริษัท เอ็ม บี เค จำกัด (มหาชน) ร่วมกับกรุงเทพมหานคร ตัวแทนหน่วยงานภาครัฐและภาคธุรกิจ ร่วมเปิดงาน เทศกาลลอยกระทงกรุงเทพมหานคร ประจำปี 2567 โดยมี นายศานนท์ หวังสร้างบุญ รองผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร ประธานในพิธี โดยเอ็ม บี เค
สส.รทสช. จี้ ‘ผู้ว่าฯกทม.’ เร่งแก้ปัญหาคนแร่ร่อน นอนเกลื่อนถนนริมคลองหลอด
สส.เกรียงยศ จี้กทม.เร่งแก้ปัญหาคนแร่ร่อนนอนเกลื่อนถนนริมคลองหลอดใกล้ศาลาว่าการกรุงเทพมหานครแค่เอื้อม หวั่นชาวต่างชาตินำภาพไปเผยแพร่จะเป็นภาพลักษณ์ที่ไม่ดีกับเมืองท่องเที่ยว ดักคออย่าโยนให้แต่กระทรวงพม.