สายพันธุ์เดลต้าเข้ามาแทนที่สายพันธุ์แอลฟา ยังใช้เวลา 2-3 เดือน แต่สายพันธุ์ โอมิครอน แพร่กระจายได้เร็วกว่า ช่วงระยะเวลาเพียงเดือนเดียว สามารถตรวจพบได้ประมาณร้อยละ 90 แล้ว
18 ม.ค.2565- ศ.นพ.ยง ภู่วรวรรณ หัวหน้าศูนย์เชี่ยวชาญเฉพาะทางด้านไวรัสวิทยาคลินิก ภาควิชากุมารเวชศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย โพสต์เฟซบุ๊ก Yong Poovorawan หัวข้อ โควิด 19 สายพันธุ์ โอมิครอน กำลังเข้ามาแทนที่สายพันธุ์เดลต้า
ข้อมูลการศึกษาวิจัยของศูนย์ ที่เราทำอยู่ ในการจำแนกสายพันธุ์ตั้งแต่ต้นปีที่แล้ว ตัวอย่างส่วนใหญ่จะเป็นในกรุงเทพฯ
สายพันธุ์เดลต้าเข้ามาแทนที่สายพันธุ์แอลฟา ยังใช้เวลา 2-3 เดือน แต่สายพันธุ์ โอมิครอน แพร่กระจายได้เร็วกว่า ช่วงระยะเวลาเพียงเดือนเดียว สามารถตรวจพบได้ประมาณร้อยละ 90 แล้ว ในช่วงเดือนธันวาคมการตรวจตัวอย่างส่วนใหญ่จะเป็นผู้เดินทางมาจากต่างประเทศ แต่ในเดือนมกราคมเป็นต้นมา ตัวอย่างทั้งหมดจะเป็นการติดเชื้อในประเทศ ไม่ได้เอาตัวอย่างผู้เดินทางมาจากต่างประเทศมาตรวจแล้ว
เห็นได้ว่าสายพันธุ์ โอมิครอน แพร่ได้เร็วและจะเข้ามาแทนที่ ทั้งหมด ภายในเดือนนี้ ตามหลักของวิวัฒนาการ.
ข่าวที่เกี่ยวข้อง
'หมอยง' บอกอย่าตื่นตะหนกโนโรไวรัส
ศ.นพ.ยง ภู่วรวรรณ ราชบัณฑิต สำนักวิทยาศาสตร์ ศูนย์เชี่ยวชาญเฉพาะทางด้านไวรัสวิทยา
โควิดรายสัปดาห์ ป่วยนอนโรงพยาบาล 557 ราย ไม่มีผู้เสียชีวิต
ยอดผู้ติดเชื้อโควิด-19 รายสัปดาห์ ระหว่างวันที่ 1 - 7 ธันวาคม 2567 ผู้ป่วยรักษาตัวในโรงพยาบาล (รายสัปดาห์)
'หมอยง' ชี้สถานการณ์โควิดเปลี่ยนตามกาลเวลา ปีนี้ยุติแล้ว แต่ไวรัสยังอยู่ต่อไป
ศ.นพ.ยง ภู่วรวรรณ หัวหน้าศูนย์เชี่ยวชาญเฉพาะทางด้านไวรัสวิทยาคลินิก ภาควิชากุมารเวชศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย โพสต์ข้อความผ่านเฟซบุ๊กว่า 5 ปี โควิด 19 กาลเวลาเปลี่ยน สถานการณ์เปลี่ยน
ย้อนดู 5 ปี 'โควิด 19' ความสับสนของข้อมูลในสื่อสังคมออนไลน์
ศ.นพ.ยง ภู่วรวรรณ ราชบัณฑิต สำนักวิทยาศาสตร์ศูนย์เชี่ยวชาญเฉพาะทางด้านไวรัสวิทยาคลินิก คณะแพทยศาสตร์ จุฬา โพสต์เฟซบุ๊กว่า
'หมอยง' ช้ำถูกวิกิพีเดียใส่ข้อมูลเท็จซ้ำเข้าไปแก้ไขไม่ได้
ศ.นพ.ยง ภู่วรวรรณ ราชบัณฑิต สำนักวิทยาศาสตร์ ศูนย์เชี่ยวชาญเฉพาะทางด้านไวรัสวิทยา