23 ธ.ค.2564 -ดร.อนันต์ จงแก้ววัฒนา นักวิจัยด้านไวรัสวิทยาไบโอเทค-สวทช. โพสต์ข้อความผ่านเฟซบุ๊กส่วนตัว เห็นด้วยกับความเห็นนี้ของ Dr. Bill Hanage (นักระบาดวิทยาของ Harvard) ครับ ความเสี่ยงจากการป่วยหนักจากโอมิครอนเทียบกับเดลต้าดูเหมือนจะน้อยกว่าเดลต้า นั่นเป็นเพราะเรามีภูมิจากวัคซีน และ การติดเชื้อมาช่วยไว้ ทำให้ตัวเลขลดลง แต่จำนวน% ของคนป่วยหนักก็ยังมีอยู่ ถ้าโอมิครอนเพิ่มจำนวนได้พอๆกับเดลต้าก็จะเป็นข่าวดีมากๆ ครับ แต่ความจริงมันไม่ใช่… สมมติ จากติดเดลต้า 10 คน ป่วยหนัก 4 คน ลดลงเหลือเพียง 1คนในโอมิครอน ถ้าติดเดลต้าวันนึง 100 คน จะมีคนป่วย 40 คน แต่โอมิครอนติดได้มากกว่าเดลต้าเป็น 500 คน คนป่วยจากโอมิครอนจะเป็น 50 คน
ข่าวที่เกี่ยวข้อง
ศูนย์จีโนมฯ จับตาโอมิครอน KP.2.3/XEC ลูกผสมพันธุ์ใหม่ แพร่เร็วกว่าเดิม 2 เท่า
ศูนย์จีโนมทางการแพทย์ คณะแพทยศาสตร์ โรงพยาบาลรามาธิบดี โพสต์ข้อความผ่านเฟซบุ๊กว่า โอมิครอน KP.2.3/XEC : ลูกผสมสายพันธุ์ใหม่แพร่เร็วกว่าเดิม 2 เท่า
ศูนย์จีโนมฯ แนะนำ JN.1.4 โอมิครอนตัวล่าสุดที่จะมาแทนที่ JN.1
ศูนย์จีโนมทางการแพทย์ คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี
ศูนย์จีโนมฯ อัปเดตผลทดลอง 'วัคซีนโควิด' รุ่นล่าสุด 'XBB.1.5 โมโนวาเลนต์'
ศูนย์จีโนมทางการแพทย์ คณะแพทยศาสตร์ โรงพยาบาลรามาธิบดี โพสต์ข้อความผ่านเฟซบุ๊กว่า องค์การอนามัยโลกระบุวัคซีนโควิด-19 เจนเนอเรชั่นล่าสุด “XBB.1.5 โมโนวาเลนต์”